สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
The Journal of the Royal Society of Thailand Vol. 41 No. 3 July-September 2016 38 เช่น “ น� ำผงกวาวเครือขาวต� ำผสมกับน�้ ำนมวัว มีสรรพคุณช่วยความจ� ำ ผิวหนังนุ่มกระชับ อายุยืน ปราศจากโรคภัยเบียดเบียน ” “ รับประทานผงกวาวเครือขาวร่วมกับน�้ ำมันเนยหรือน�้ ำผึ้ง มีสรรพคุณเป็นยาอายุวัฒนะ ” “ รับประทานผงกวาวเครือขาวผสมกับน�้ ำมะขามป้อม สมอไทยสมอพิเภก มีสรรพคุณบ� ำรุงสายตา รักษาโรคตาฟาง ” “ รับประทานผงกวาวเครือขาวผสมกับน�้ ำนมควาย มีสรรพคุณบ� ำรุงเส้นผม บ� ำรุงผิวพรรณ ” (จาก “ต� ำรายาหัวกวาวเครือของหลวงอนุสารสุนทร” กรมการพิเศษ เชียงใหม่ พ.ศ. ๒๔๗๔) เอกสารอ้างอิง คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ. ต� ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ . ๒๕๕๕. ด� ำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๒ . กรุงเทพฯ : กรมศิลปกร; ๒๕๔๖. หน้า ๑-๒๓๔. ทศพร วงศ์รัตน์. มารดาของสุนทรภู่ชื่อบัว. วารสารราชบัณฑิตยสถาน . ๒๕๕๘; ๔๐(๑) : ๑๔๖-๑๘๕. ทศพร วงศ์รัตน์. จากปี่เตียวเหลียงถึงปี่สกอตเป็นปี่พระอภัย. ใน หนังสือเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ- รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ . กรุงเทพฯ : ส� ำนัก วิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา; ๒๕๕๙. หน้า ๓๘๗-๔๑๙. ทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี, เจ้าพระยา. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓ . กรุงเทพฯ : กรมศิลปกร; ๒๕๔๗. หน้า ๑-๑๙๐. นเรศร์โยธี, กรมหมื่น และคณะ (ผู้แปล). เลียดก๊ก โดย เฝิง เมิ่ง หลง . ๒๓๖๒. ประจักษ์ ประภาพิทยากร. วรรณคดีวิเคราะห์ พระอภัยมณี . กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจ� ำกัด ทิพย์อักษร; ๒๕๒๙. หน้า ๑-๒๕๒. ประยูร พิศนาคะ และเกรียงศักดิ์ พิศนาคะ. ชีวิตและงานของศรีปราชญ์-สุนทรภู่ . กรุงเทพฯ : ส� ำนักงาน หอสมุดกลาง ๐๙; ๒๕๑๒. หน้า ๑-๓๘๘. ปริยัติธรรมธาดา, พระยา (แพ ตาละลักษมณ์). ประวัติสุนทรภู่ . ๒๔๕๖. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ . กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน; ๒๕๕๖. หน้า ๑-๑๕๔๔. กวาวเครือ และดินโป่งเป็น ดินถนัน ถันสุธา นมพระธรณี ในนิทานพระอภัยมณีค� ำกลอน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=