สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

The Journal of the Royal Society of Thailand Vol. 41 No. 3 July-September 2016 26 จากตอนที่ ๔๘ หน้า ๙๖๗ หลังการบวชครั้งที่ ๒ ในช่วงเดินทางจากเพชรบุรีกลับกรุงเทพฯ เพราะมารดา ถึงแก่กรรมในเดือนยี่) รูปที่ ๔ ผลิตภัณฑ์กวาวเครือแดงและกวาวเครือขาว ป่นแห้งบรรจุซอง และในสภาพเป็นน�้ ำมัน แสดง สรรพคุณเป็นยาบ� ำรุงหลายคุณภาพ ที่มีขายตามหาบเร่ แผงลอย หรือร้านยาพื้นบ้านทั่วไป เค้าของกวาวเครือและดิน (โป่ง) หรือ “ ดินถนัน ” “ ถันสุธา ” หรือ “ นมพระธรณี ” ในงานอื่น ของสุนทรภู่ น่าสังเกตว่า เมื่อสุนทรภู่เริ่มการกล่าวถึง “ ดินถนัน ” และติดพันมาตั้งแต่ปีเถาะ พ.ศ. ๒๓๗๔ เป็นเวลาได้ ๑๐ ปีพอดี แล้วไปสิ้นสุดในนิทานพระอภัยมณี ตอนที่ ๔๖ ที่แต่งในปลายปีฉลู พ.ศ. ๒๓๘๔ แต่ ความจริงแล้ว ๒๐ ปีก่อนนี้ คือในปีมะเส็ง พ.ศ. ๒๓๖๔ สุนทรภู่ก็ได้กล่าวถึงยาอายุวัฒนะในชื่อดิน “ ถน� ำ ” ไว้เป็นครั้งแรกใน “ สวัสดิรักษาค� ำกลอน ” ที่แต่งถวายเจ้าฟ้าอาภรณ์ ครั้งตัวเองเพิ่งได้รับพระราชทานตึก ที่พัก พระธ� ำมรงค์ ต� ำแหน่งขุนสุนทรโวหาร และงานเป็นพระอาจารย์ของเจ้าฟ้าอาภรณ์ ขณะมีพระชนม์ ๕ พรรษาพอดี เหมือนเป็นยาโบราณส� ำคัญที่พระองค์ก็ควรรู้ ควรใส่ใจ และจดจ� ำ เพราะคงจะมีกล่าว ด้วยความเชื่อในสรรพคุณกันมาก่อนตั้งแต่ครั้งโบราณในเรื่องสวัสดิรักษา ที่เป็นค� ำฉันท์ ว่า “ อนึ่งวิชาอาคม ถมถน� ำ เวลาค�่ ำควรคิดเป็นนิจศีล ” โดยผู้เขียนจะยกหลักฐาน “ ดินถน� ำ ” ที่เป็นเครื่องปรุงยาพื้นบ้านต่อไป ในบทความนี้ ในที่สุด แต่เรื่องนี้ก็อาจไม่มีส่วนมาเกี่ยวข้องแม้แต่น้อย และความคิดต่อไปนี้หากยอมรับไม่ได้ ก็ไม่ถือว่ามีผลท� ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใด ๆ กล่าวคือ ในงานเรื่อง “ นิราศเมืองเพชร ” ซึ่งสุนทรภู่แต่งใน ราวเดือนธันวาคม ปีขาล พ.ศ. ๒๓๘๕ ขณะเดินทางเข้าเขตเพชรบุรี ระหว่างบ้านบางครกกับบ้านใหม่ ก็ได้ กวาวเครือ และดินโป่งเป็น ดินถนัน ถันสุธา นมพระธรณี ในนิทานพระอภัยมณีค� ำกลอน

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=