สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

The Journal of the Royal Society of Thailand Vol. 41 No. 3 July-September 2016 20 ค� ำกลอน ” ตั้งแต่ตอนที่ ๓๑ มากมาย และจะกล่าวถึงทั้งหมดต่อไปตามล� ำดับ โดยคุณสมบัติหลายอย่าง ก็ยังสอดคล้องกันกับ “ ผลภูสิทธิ์ ” ตามค� ำของขงจื้อในเรื่อง “ เลียดก๊ก ” นอกจากแหล่งที่มาจากน�้ ำหรือ แผ่นดินที่ต่างกัน เป็นนิทานในระหว่าง ๑๐ ปี คือ กวาวเครือ และดิน (โป่ง) รวมทั้งดินถน� ำจากหลักฐาน ที่จะกล่าวถึงต่อไป หรือในภาพรวมเป็น “ ดินถนัน ” “ ถันสุธา ” หรือ “ นมพระธรณี ” ใน “ พระอภัยมณี ค� ำกลอน ” ที่แต่งระหว่างปีเถาะถึงปีฉลู พ.ศ. ๒๓๗๔-๒๓๘๔ ดังต่อไปนี้ รูปที่ ๓ หัวที่เป็นส่วนรากของกวาวเครือแดง ที่มีลักษณะยาวเป็นท่อน และภาพตัดขวางให้เห็นวงของยาง ที่ขอบชั้นเปลือกของกวาวเครือแดง ถ่ายจากร้านจ� ำหน่ายในงานเกษตรแห่งชาติ บริเวณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพฯ วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๔ “ พอเช้าตรู่รู้สึกนึกถึงม้า ลงมาหาท่าหินที่สินธุ์ใส บ้วนพระโอษฐ์โสรจสรงพักตร์ประไพ คิดอาลัยแลหาอาชาทรง พอได้ยินดินลั่นเสียงครั่นครื้น สะเทือนพื้นภูผาป่าระหง ประเดี๋ยวหนึ่งตึงสะดุ้งดังผลุงลง กลิ้งอยู่ตรงหน้าเท่าน�้ ำเต้าทอง เหลืองอร่ามงามงอมหอมระรื่น ดูสดชื่นชูสีไม่มีสอง สงสัยนักชักมีดออกกรีดลอง ขาดเป็นสองซีกไส้ข้างในแดง นางชิมดูรู้ว่าโอชารส เหลือก� ำหนดในมนุษย์สุดแสวง ทั้งหอมหวานซ่านเสียวมีเรี่ยวแรง ที่ศอแห้งหิวหายสบายบาน กวาวเครือ และดินโป่งเป็น ดินถนัน ถันสุธา นมพระธรณี ในนิทานพระอภัยมณีค� ำกลอน

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=