สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

The Journal of the Royal Society of Thailand Vol. 41 No. 3 July-September 2016 138 สรุปผลการทดลอง การทดลองนี้เป็นการทดลองเบื้องต้นเพื่อผลิตท่อนาโนคาร์บอนด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์ ปรากฏว่าสามารถด� ำเนินงานได้ แต่ยังต้องพัฒนาอีกมากเพราะมีอัญรูปของคาร์บอนและเส้นใยคาร์บอนเกิด ขึ้นในระหว่างการทดลอง ผู้วิจัยมีความคิดเห็นว่าควรใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีปริมาณมากกว่านี้และตัวคอลัมน์ ควรขยายให้ใหญ่ขึ้นเพื่อเพิ่มเวลาการก่อตัวและเพิ่มโอกาสการก่อตัวเป็นท่อนาโนคาร์บอน อุณหภูมิที่เหมาะสม ส� ำหรับตัวเร่งปฏิกิริยาโคบอลต์ควรใช้ที่ ๖๐๐ องศาเซลเซียส และเวลาที่ใช้ท� ำปฏิกิริยาประมาณ ๖๐ นาที กิตติกรรมประกาศ ผู้วิจัยขอขอบคุณ สกว. และรัฐบาลฝรั่งเศสที่ให้ทุนสนับสนุนการวิจัย ขอขอบคุณภาควิชาเคมี เทคนิค คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ Institut National Polytechnique de Toulouse ประเทศฝรั่งเศส ที่อ� ำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการใช้สถานที่ติดตั้งอุปกรณ์การวิจัย เอกสารอ้างอิง Belin, T., and Epron, F. (2005). Characterization methods of carbon nanotubes: A review. Materials Science and Engineering B . 119 (2005): 105-118. Cheng, Q. (2010). Dispersion of Single-Walled Carbon Nanotubes in Organic Solvents . Doctoral dissertation School of Physics Dublin Institute of Technology. Demczyk, B.G. et al. (2002). Direct mechanical measurement of the tensile strength and elastic modulus of multi-walled carbon nanotubes. Materials Science and Engineering A . 334 Issues 1-2 (2002): 173-178. Iijima, S. (1991). Helical microtubules of graphitic carbon . Nature . 354 (1991): 56-58. Iijima, S., and Ichihashi, T. (1993). Single-shell carbon nanotubes of 1-nm diameter . Nature . 363 (1993): 603-605. Kis, A. (2003). Mechanical properties of mesoscopic objects . Thèse de doctorat Section de physique Institut de physique de la matière complexe École Polytechnique Fédérale de Lausanne. การผลิตท่อนาโนคาร์บอนในฟลูอิไดซ์เบดบนตัวเร่งโคบอลต์

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=