สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

The Journal of the Royal Society of Thailand Vol. 41 No. 3 July-September 2016 124 รูปที่ ๕ สมบัติการน� ำไฟฟ้าของวัสดุชนิดต่าง ๆ ( Cheng, 2010 ) เนื่องจากลักษณะโครงสร้างของท่อนาโนคาร์บอนเป็นแบบแกรฟีน ดังนั้น ท่อนาโนคาร์บอนจึง มีสมบัติกึ่งโลหะกึ่งวัสดุกึ่งตัวน� ำ ขึ้นอยู่กับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและรูปร่างแบบไครัล (องศาการเรียงตัว ของอะตอมคาร์บอน) เบลินและเอพรอน ( Belin and Epron, 2005 ) ได้แสดงถึงขนาดของเวกเตอร์ไครัลคู่ บนท่อนาโนคาร์บอนในรูปที่ ๖ ซึ่งวงกลมไม่มีสีแสดงสมบัติแบบโลหะ และวงกลมสีด� ำแสดงสมบัติแบบวัสดุ กึ่งตัวน� ำของท่อนาโนคาร์บอนผนังชั้นเดียว ตามล� ำดับ Zigzag Armchair โลหะ เซมิคอนดักเตอร ( 0,0 ) ( 1,0 ) ( 2,1 ) ( 3,2 ) ( 4,3 ) ( 5,4 ) ( 2,0 ) ( 3,1 ) ( 4,2 ) ( 5,3 ) ( 3,0 ) ( 4,1 ) ( 5,2 ) ( 6,3 ) ( 4,0 ) ( 5,1 ) ( 6,2 ) ( 5,0 ) ( 6,1 ) ( 7,2 ) ( 6,0 ) ( 7,1 ) ( 7,0 ) ( 8,0 ) ( 8,1 ) ( 1,1 ) ( 2,2 ) ( 3,3 ) ( 4,4 ) รูปที่ ๖ แผนภาพการน� ำไฟฟ้าของท่อนาโนคาร์บอนผนังชั้นเดียว ( Belin and Epron, 2005 ) การผลิตท่อนาโนคาร์บอนในฟลูอิไดซ์เบดบนตัวเร่งโคบอลต์

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=