สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

The Journal of the Royal Society of Thailand Vol. 41 No. 3 July-September 2016 114 ที่ผลิตได้นั้นปราศจากเชื้อโรค เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเสถียรภาพ ไร้กลิ่นที่น่ารังเกียจ และมีมูลค่าสูง ท� ำให้เป็นที่ ยอมรับและไม่เป็นอันตรายแก่ผู้ที่น� ำไปใช้งาน เมื่อเทียบกับปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้จากลานตากตะกอน ดังนั้น เมื่อพิจารณาในเชิงเศรษฐกิจ ความคุ้มทุน และผลก� ำไร การลดค่าใช้จ่ายในการด� ำเนินการของกระบวนการ เช่น การออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ให้ใช้ระบบให้ความร้อนแบบอื่น ๆ ทดแทนการใช้กระแสไฟฟ้า การติดตั้ง ฉนวนกันความร้อน และการศึกษาเพิ่มเติมในการปรับเปลี่ยนกระบวนการให้มีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น จึงเป็น ข้อที่ควรน� ำมาพิจารณาปรับปรุง นอกจากนี้ ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในการวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ (cost-benefit analysis) ของการเพิ่มขนาดเครื่องปฏิกรณ์ส� ำหรับกระบวนการไฮโดรเทอร์มัลคาร์บอไนเซชัน ในการบ� ำบัดสิ่งปฏิกูลด้วย ตารางที่ ๒ ต้นทุนการก่อสร้างและการด� ำเนินการ รวมถึงรายได้จากการขายผลผลิตของโรงบ� ำบัดสิ่งปฏิกูล ที่ใช้ถังหมักและลานตากตะกอน และกระบวนการไฮโดรเทอร์มัลคาร์บอไนเซชัน ข้อมูล เทคโนโลยีการบ� ำบัด ถังหมักและลานตากตะกอน ๑ ไฮโดรเทอร์มัลคาร์บอไนเซชัน ต้นทุนการก่อสร้าง ๒ ๙,๔๐๐๐,๐๐๐ บาท ๑๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๓ ต้นทุนการด� ำเนินการ ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาทต่อปี ๔,๕๐๐,๐๐๐ บาทต่อปี ๓ ปริมาณสิ่งปฏิกูล ๙,๐๐๐ ลบ.ม.ต่อปี ๙,๐๐๐ ลบ.ม.ต่อปี ผลผลิต ปุ๋ยอินทรีย์ ถ่านไฮโดร ปริมาณผลผลิต ๗๒,๐๐๐ กก.ต่อปี ๓๓๗,๕๐๐ กก.ต่อปี ราคาผลผลิต ๓,๐๐๐ บาทต่อตัน ๓,๒๐๐ บาทต่อตัน ๔ รายได้จากการขายผลผลิต ๒๑๖,๐๐๐ บาทต่อปี ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาทต่อปี ๑ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่เทศบาลนครนนทบุรี ๒ ไม่รวมราคาที่ดิน ๓ ประมาณมาจาก EVI (2013) ๔ อ้างอิงจากราคาถ่านหิน ( กฟผ, ๒๕๕๗ ) การผลิตถ่านไฮโดรจากสิ่งปฏิกูล โดยกระบวนการไฮโดรเทอร์มัลคาร์บอไนเซชัน

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=