สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๙ 111 จงรักษ์ ผลประเสริฐ, ไกรลักษณ์ ฟักแก้ว, ธรรมรัตน์ คุตตะเทพ (ก) Danso-Boateng et al., 2013; (ข) Sevilla and Fuertes, 2009; (ค) Berge et al., 2011; (ง) Liu et al., 2013b; (จ) Xiao et al., 2012; (ฉ) Park and Jang, 2011; (ช) Rose and Cooper, 1977; (ฌ) Sukiran et al., 2011. รูปที่ ๓ แผนภาพ Van Krevelen ของสิ่งปฏิกูลแห้ง ถ่านไฮโดรจากสิ่งปฏิกูล ถ่านไฮโดรจากสารชีวมวล ชนิดต่าง ๆ (เช่น กากตะกอนน�้ ำเสีย เซลลูโลส กระดาษ อาหาร ใยมะพร้าว และซังข้าวโพด) ถ่านหิน ธรรมชาติ (เช่น ลิกไนต์ บิทูมินัส และถ่านไม้) และถ่านชีวภาพ ๓.๒ การประยุกต์ใช้ถ่านไฮโดร เชื้อเพลิงแข็ง เนื่องจากสมบัติของถ่านไฮโดรที่ผลิตได้จากการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ค่าพลังงานความร้อน อีกทั้งสัดส่วนอะตอมของ ไฮโดรเจน/คาร์บอน และ ออกซิเจน/คาร์บอน มีค่าใกล้เคียงกับของลิกไนต์และ บิทูมินัส (๑๕ เมกะจูลต่อกิโลกรัม และ ๑๘ เมกะจูลต่อกิโลกรัม ตามล� ำดับ) ( U.S. EPA, 2008 ) และจาก ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบขั้นสูง (ultimate analysis) (ตารางที่ ๑) พบปริมาณก� ำมะถันในถ่านไฮโดร
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=