สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๙ 101 สายชล เกตุษา จึงใช้สารแพโคลบิวทราซอลเพื่อกระตุ้นการสร้างตาดอก ภายหลังการให้สารแล้วประมาณ ๒ เดือนครึ่ง มะม่วงจะเริ่มออกดอกได้หากต้องการให้มะม่วงมีการออกดอกอย่างสม�่ ำเสมอพร้อมกันทั้งต้น ใช้สาร แพโคลบิวทราซอลเร่งการออกดอกของมะม่วงในประเทศไทย ได้มีการริเริ่มวิจัย โดย รศ. ดร.พีรเดช ทองอ� ำไพ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก� ำแพงแสน และได้น� ำไปสู่ การใช้สารนี้อย่างกว้างขวางกับมะม่วงในประเทศไทย มีแผนภูมิของการใช้สารแพโคลบิวทราซอลให้เข้าใจ ง่ายแก่การปฏิบัติ ดังในรูปที่ ๑๒ แผนภูมิการบังคับให มะม วงออกดอกโดยการใช สารเคมี มะม วงระยะใบแก จัด หรือหลังเก็บเกี่ยว เร งการแตกใบอ อนโดย ใช โพแทสเซียมไนเทรต ๒.๕% หรือไทโอยูเรีย ๐.๕% พ นให ทั่วต น พ นสารโพแทสเซียม ไนเทรต ๒.๕% หรือ ไทโอยูเรีย ๐.๕% หรือ กระตุ นการแทงช อดอก ๗-๑๔ วัน ๗-๑๔ วัน ๕-๗ วัน ๑๔-๒๑ วัน ๑๐๐-๑๒๐ วัน ๑๕-๓๐ วัน ๒-๒ ๑ / ๒ เดือน สำหรับพันธุ ออกดอกง าย พ นสารเอทีฟอน ๑๐ พีพีเอ็ม ให ทั่วต น เพื่อเพิ่มดอกสมบูรณ เพศ รดสารแพโคลบิวทราซอล ที่โคนต นตามอัตราที่กำหนด ๓ ๑ / ๒ -๔ เดือน สำหรับพันธุ ออกดอก เริ่มแตกใบอ อน ระยะใบอ อน ระยะใบแก จัด เริ่มแทงช อดอก ช อดอกยาว ประมาณ ๓ ซม. ดอกบานเต็มที่ เก็บเกี่ยว รูปที่ ๑๒ แผนภูมิการบังคับให้ต้นมะม่วงออกดอกโดยการใช้สารแพโคลบิวทราซอล (http://www.ku.ac.th/emagazine/april46/agri/mango.html)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=