2718_2218

7 ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒๖๒ เดือนมีนาคม ๒๕๕๖ ผู้สนใจบทความดังกล่าวขออนุญาตค้นคว้าได้ที่ศูนย์ข้อมูลข่าวสารราชบัณฑิตยสถาน ห้องสมุดราชบัณฑิตยสถาน โทรสารหมายเลข ๐ ๒๓๕๖ ๐๔๙๒ หรือทางเว็บไซต์ www.royin.go.th ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ และเรียบเรียงพจนานุกรม ๒. หลักและกระบวนการที่เกี่ยวเนื่องกับการเขียน ตรวจแก้ และเรียบเรียงพจนานุกรม ส่วน Hartmann and James (๑๙๙๘) ใช้คำว่า lexicography ในความหมายที่กว้างยิ่งขึ้น คือ ครอบคลุมทั้งงานด้าน dictionary research “การวิจัยพจนานุกรม” (= theoretical lexicography “พจนานุกรมศาสตร์ในภาคทฤษฎี”) และงานด้าน dictionary-making “การทำพจนานุกรม” (= practical lexicography “พจนานุกรมศาสตร์ในภาคปฏิบัติ”) ดังแผนภูมิต่อไปนี้ พจนานุกรมเป็นหนังสืออ้างอิงประเภทหลักคู่กับสารานุกรม ผู้บรรยายได้เปรียบเทียบลักษณะของพจนานุกรมทั่วไป กับพจนานุกรมกึ่งสารานุกรม จากนั้นได้พูดถึงประเภทข้อมูลในหนังสืออ้างอิง และโครงสร้างของหนังสืออ้างอิง

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=