2716_8985

7 ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒๖๐ เดือนมกราคม ๒๕๕๖ ผู้สนใจบทความดังกล่าวขออนุญาตค้นคว้าได้ที่ศูนย์ข้อมูลข่าวสารราชบัณฑิตยสถาน ห้องสมุดราชบัณฑิตยสถาน โทรสารหมายเลข ๐ ๒๓๕๖ ๐๔๙๒ หรือทางเว็บไซต์ www.royin.go.th ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ กลุ่มอาคารห้องอยู่อาศัย (Apartment) อาคารด้านหน้าผนัง ฉาบปูนพ่นสีเข้ม ระเบียงพ่นสีขาว อาคารด้านหลังทาสีอ่อน ตัว ระเบียงใช้สีเข้ม อาคารที่พักอาศัยพร้อมด้วยร้านค้าของเบ็ดเตล็ดชั้นล่าง รอบตัว อาคารโครงเป็นสีเทาเงิน เพื่อให้สีตัดกันกับผนัง ซึ่งเป็นวัสดุ สำเร็จรูป อาคารพักอาศัยสร้างที่ประเทศอังกฤษ ชานกรุงลอนดอน สี กรอบที่ยึดแผ่นกระจกเป็นโลหะทาสีขาว อาคารที่พักอาศัย กรอบหน้าต่างกระจกเป็นสีพ่นสีขาวขัดมัน พื้นและผนังของระเบียงพ่นสีมัน อาคารพักอาศัยสร้างใกล้เมืองอัมสเตอร์ดัม ขอบหน้าต่างกรุ ด้วยกระจกสีด้าน ตัวขอบโดยรอบหน้าต่างพ่นสีขาวขัดมัน ช่วงตึกอาคารห้องอยู่อาศัยชนิดหลายครอบครัว (Apartment) สถาปนิกใช้ปูนฉาบผสมหินกรวดทาสีขาว เนื่องจากสิ่งแวดล้อมเป็น สวนและสนามสีเขียว ขอบประตูหน้าต่างใช้สีฟ้าเข้มเพื่อให้ดู ช่วงตึกที่พักอาศัย โครงสร้างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ผนังโดย รอบอาคารก่ออิฐฉาบปูนผสมหินแม่น้ำเฉลียงและผนังจากพื้นถึงขอบ หน้าต่าง ใช้วัสดุสำเร็จรูปทาสีให้ปรากฏเป็น ๔ สี สีของผ้าบังแดดจัด เป็นสีเดียวกันเพื่อให้เกิดสีที่ตัดกัน อาคารพักอาศัยและร้านค้าชั้นล่าง ผนังรับน้ำหนักบรรทุกที่ด้าน ข้างใช้สีฟ้าอ่อน สำหรับสีที่ใช้เป็นสีฟ้าอ่อนและเข้ม ทำหน้าที่ต่างกัน อาคารที่สร้างในกลุ่มอาคารที่พักอาศัย สร้างใกล้กรุงสตอกโฮล์ม ทับหลังของผนังกันตกเป็นอะลูมิเนียมขัดมัน ผนังที่ตั้งอยู่ระหว่าง หน้าต่างเป็นแผ่นซีเมนต์ผสมใยหินทาสีมัน อาคารสร้างเป็นลักษณะช่วงตึกที่พักอาศัย สร้างที่เมืองมิลาน ประเทศอิตาลี ประตูหน้าต่างใช้มู่ลี่ไม้บังแดดม้วนขึ้นลงทาสีมัน ผนัง ใต้หน้าต่างโดยรอบอาคารทาสี Mineral (สีผสมแร่ที่ศึกษาการผลิต เป็นพิเศษ) อาคารพักอาศัยที่เมืองมิวนิก ส่วนที่เป็นห้องพักอาศัยทาสีอ่อน เฉลียงลอยทาสีฟ้าเข้ม และใช้สีน้ำทำเป็นรูปสามเหลี่ยม ติดไว้ที่ผนัง กันตกของดาดฟ้าโดยมีพื้นสีเดิมเป็นสีอ่อน สีที่ทาในที่ต่าง ๆ ใช้พ่น เรียบ ส่วนร้านต้นไม้บนดาดฟ้าใช้สีใดก็ได้ตามแต่จะชอบ อาคารในการออกแบบเฉลียงพักผ่อนเป็นรูปร่างใหม่ซึ่งเป็นที่ นิยมมากในประเทศเยอรมนี เจ้าของบ้านออกมานั่งพักผ่อนจะมองไม่ เห็นซึ่งกันและกัน สีผนังเป็นสีเข้มเพื่อให้เฉลียงดูเด่น ส่วนเฉลียงเป็น สีอ่อน บ้านพักคนชราที่ประเทศเยอรมนี ผนังกั้นระหว่างห้องก่ออิฐแล้ว พ่นสี ที่ระเบียงพ่นสีต่าง ๆ กันเพื่อให้ดูสดใส โรงพิมพ์ของบริษัท I.B.M. ชายคาเป็นสีขาวขัดมัน ส่วนกลางอาคารพ่นสีเทา ดร.ชลิตภากร วีรพลิน ภาคีสมาชิก บรรยายเรื่อง องค์ ประกอบของความแตกต่างที่สำคัญของประเทศ ภาค และ จังหวัด ความโดยสรุปว่า องค์ประกอบของความแตกต่างที่สำคัญ ของประเทศ ภาค และจังหวัด เช่น รายได้เฉลี่ยต่อหัวต่อปี (บาท) ของประเทศ ภาค และจังหวัด การใช้ประโยชน์ที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๖- ๒๕๕๑ ลักษณะการถือครองที่ดินทางการเกษตร พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙ รายได้เฉลี่ยต่อหัวต่อปี (บาท) ของประชากร พ.ศ. ๒๕๕๓ ที่เรียง ตามลำดับจากมากที่สุดไปน้อยที่สุดคือ ในกรุงเทพมหานครและปริ มณฑล ภาคตะวันออก ภาคกลาง ภาคตะวันตก ภาคใต้ ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และยังเรียงตามลำดับรายได้จากมาก ไปน้อยในระดับจังหวัดและระดับประเทศ เช่น กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ประชากรในจังหวัดสมุทรสาคร มีรายได้เป็นลำดับที่ ๑ ของภาคและเป็นลำดับที่ ๒ ของประเทศ ในจังหวัดนนทบุรีมีรายได้เป็นลำดับที่ ๖ และเป็นลำดับที่ ๒๐ ของประเทศ ภาคกลาง ประชากรในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีรายได้เป็น ลำดับที่ ๑ ของภาค และเป็นลำดับที่ ๓ ของประเทศ จังหวัด อ่างทองมีรายได้เป็นลำดับที่ ๖ และเป็นลำดับที่ ๓๓ ของประเทศ ภาคตะวันออก ประชากรในจังหวัดระยองมีรายได้เป็นลำดับที่ ๑ ของภาค และเป็นลำดับที่ ๑ ของประเทศ จังหวัดสระแก้วมีรายได้ เป็นลำดับที่ ๘ และเป็นลำดับที่ ๕๑ ของประเทศ ภาคตะวันตก ประชากรในจังหวัดราชบุรีมีรายได้เป็นลำดับที่ ๑ ของภาค และเป็นลำดับที่ ๑๔ ของประเทศ จังหวัดสมุทรสงคราม มีรายได้เป็นลำดับที่ ๖ และเป็นลำดับที่ ๔๐ ของประเทศ ภาคเหนือ ประชากรในจังหวัดลำพูนมีรายได้เป็นลำดับที่ ๑ ของ ภาค และเป็นลำดับที่ ๑๒ ของประเทศ จังหวัดแพร่มีรายได้ เป็นลำดับที่ ๑๗ และเป็นลำดับที่ ๕๙ ของประเทศ ภาคกลาง ประชากรในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีรายได้ เป็นลำดับที่ ๑ ของภาค และเป็นลำดับที่ ๓ ของประเทศ จังหวัด อ่างทองมีรายได้เป็นลำดับที่ ๖ และเป็นลำดับที่ ๓๓ ของ ประเทศ ภาคตะวันออก ประชากรในจังหวัดระยองมีรายได้เป็นลำดับที่ ๑ ของภาค และเป็นลำดับที่ ๑ ของประเทศ จังหวัดสระแก้วมีรายได้ เป็นลำดับที่ ๘ และเป็นลำดับที่ ๕๑ ของประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประชากรในจังหวัดขอนแก่นมีรายได้ เป็นลำดับที่ ๑ ของภาค และเป็นลำดับที่ ๓๘ ของประเทศ จังหวัด อำนาจเจริญมีรายได้เป็นลำดับที่ ๑๙ และเป็นลำดับที่ ๗๖ ของ ประเทศ ภาคใต้ ประชากรในจังหวัดภูเก็ตมีรายได้เป็นลำดับที่ ๑ ของ ภาค และเป็นลำดับ ที่ ๑๐ ของประเทศ จังหวัดปัตตานีมีรายได้ เป็นลำดับที่ ๑๔ และเป็นลำดับที่ ๕๔ ของประเทศ จังหวัดที่มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวต่อปีสูงสุดคือ จังหวัดระยอง จำนวนเงิน ๑.๐๕๒,๕๗๕ บาท ที่มีรายได้ลำดับกลางคือ จังหวัด ขอนแก่น จำนวนเงิน ๘๒,๒๑๑ บาท และที่มีรายได้ลำดับต่ำสุดคือ จังหวัดอำนาจเจริญ จำนวนเงิน ๓๕,๙๘๖ บาท การใช้ประโยชน์ที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๕๑ เนื้อที่ของที่ดิน ประกอบด้วยเนื้อที่ถือครองทางการเกษตร เนื้อที่ป่าไม้ และเนื้อที่ นอกการเกษตร เนื้อที่ถือครองทางการเกษตร พ.ศ. ๒๕๔๗ มีเนื้อที่ถือครอง ทางการเกษตรน้อยที่สุดคือ ๑.๒๒๑,๔๗๗ ไร่ ส่วน พ.ศ. ๒๕๕๐ มีเนื้อที่ถือครองทางการเกษตรมากที่สุดคือ ๑.๓๗๑,๙๕๙ ไร่ เนื้อที่ป่าไม้ พ.ศ. ๒๕๔๖ มีเนื้อที่ป่าไม้น้อยที่สุดคือ ๕๐๐,๘๗๕ ไร่ ส่วน พ.ศ. ๒๕๕๑ และ ๒๕๕๒ มีเนื้อที่ป่าไม้มากที่สุดคือ ๖๑๕,๔๐๑ ไร่ ลักษณะการถือครองที่ดินทางการเกษตร พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙ ซึ่งเป็นข้อมูลจากสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร พ.ศ. ๒๕๔๘ มีเนื้อที่ ถือครองทางการเกษตรน้อยที่สุดคือ ๑,๒๔๘,๘๔๖ ไร่ ส่วนพ.ศ. ๒๕๕๐ มีเนื้อที่ถือครองทางการเกษตรมากที่สุดคือ ๑,๓๗๑,๙๕๙ ไร่

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=