4.เมษายน 2552.indd

3 ปีที่ ๑๙ ฉบับที่ ๒๑๕ เดือนเมษายน ๒๕๕๒ ประวัติ อุปนายกราช∫ั≥±ิตยส∂าน คนที่ ๒ ดร.โส¿า ชูพิกุลชัย ชปï ลมันน์ ราชบัณฑิต สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ประเภทวิชาสังคมศาสตร์ สาขาวิชาจิตวิทยา คุ≥วุฒิ - ครุศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๐๗ - ปริญญาโท (จิตวิทยาสังคม) มหาวิทยาลัยนอร์เทิร์นโคโลราโด สหรัฐอเมริกา, ๒๕๐๙ - ปริญญาเอก (จิตวิทยาและการให้บริการปรึกษา) มหาวิทยาลัยนอร์เทิร์นโคโลราโด สหรัฐอเมริกา, ๒๕๑๓ ตำแหน่ง - ผู้อำนวยการโครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต (๒๕๕๑ - ปัจจุบัน) - รองคณบดีฝ่ายบัณฑิตศึกษา คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (๒๕๓๖ - ๒๕๔๔) - ประธานคณะกรรมการหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต สาขาอาชญาวิทยาการบริหารงานยุติธรรมและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล (๒๕๔๐ - ๒๕๔๔) - ประธานคณะกรรมการหลักสูตรมหาบัณฑิต สาขาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม มหาวิทยาลัยมหิดล (๒๕๒๒ - ๒๕๔๐) - อดีตเลขานุการสำนักธรรมศาสตร์และการเมือง (๒๕๔๙ - ๒๕๕๑) - ประธานกรรมการจัดทำคำศัพท์บัญญัติสาขาจิตวิทยา (๒๕๔๕ - ๒๕๕๐) - ประธานกรรมการจัดทำสารานุกรมศัพท์จิตวิทยา (๒๕๕๑‹ - ปัจจุบัน) - บรรณาธิการจัดทำสารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน - ประธานมูลนิธิโสภาธารน้ำใจเพื่อพัฒนาสังคมไทย (๒๕๓๕ - ปัจจุบัน) เกียรติคุ≥ - เครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก - ประกาศเกียรติคุณจากคณะกรรมการปฏิบัติการจิตวิทยาแห่งชาติให้เป็นผู้จัดรายการโทรทัศน์ดีเด่น ประเภทสร้างสรรค์สังคมและประเทศชาติ ด้านเด็กและเยาวชน - ประกาศเกียรติคุณเป็นผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพจิตดีเด่นในสาขาอาจารย์ จากมูลนิธิศาสตราจารย์ นายแพทย์ฝน แสงสิงแก้ว - ประกาศเกียรติคุณเป็นผู้อาสาสมัครต่อต้านยาเสพติดดีเด่นจากศูนย์ประสานงานกลางองค์การภาคเอกชนต่อต้านยาเสพติดสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยใน พระบรมราชูปถัมภ์ ความเชี่ยวชา≠ - ด้านจิตวิทยาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พฤติกรรมมนุษย์ คุณภาพชีวิต ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มนุษยสัมพันธ์ บุคลิกภาพ และการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก - การป้องกันและลดวิกฤตปัญหาสังคม ºลงานสำคั≠ - ทัศนคติ : พลังแห่งความมั่นคง, ๒๕๓๖ - ศิลปะการผูกรัก, ๒๕๔๐ - สุขภาพจิตที่ดีกับการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม, ๒๕๓๗ - เมื่อผู้หญิง “ฆ่า”, ๒๕๔๑ - เอดส์ : มหันตภัยใกล้ตัว, ๒๕๓๘ - วัยรุ่น วัยจä าบ, ๒๕๔๒ - บุคลิกภาพ : ความสำคัญและการพัฒนาในยุคโลกาภิวัตน์, ๒๕๓๙ - บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก, ๒๕๔๓ สรุปการ∫รรยายเสนอºลงานคâ นควâ าและวิจัย ของราช∫ั≥±ิตและ¿าคีสมาชิกต่อที่ประชุมสำนัก สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง • วันพุธที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ºูâ ช่วยศาสตราจารย์ รâ อยโท ดร.∫รรจ∫ ∫รร≥รุจิ ภาคีสมาชิก ประเภทวิชาปรัชญา สาขาวิชาศาสน ศาสตร์ บรรยายผลงานทางวิชาการ บรรยายเรื่อง “กรรม : กุญแจ‰ข ความลับของ™ีวิต” ความโดยสรุปว่า คำว่า “กรรม” เรามักพูดกันว่าเป็น กรรม แต่ถ้าประสบสิ่งที่ดีกลับไม่บอกว่าเป็นกรรม แสดงให้เห็นว่า คนไทย เข้าใจเรื่องกรรมไปในทางลบ ความจริงแล้ว “กรรม” เป็นคำกลาง ๆ แปล ว่า “การกระทำ” มีความหมายครอบคลุมทั้งกรรมดีกรรมชั่ว หากเป็นกรรม ชั่วก็เรียกว่า อกุศลกรรม บาป หรือทุจริต กรรมดีก็เรียกว่า กุศลกรรม บุญ หรือสุจริต บางทีก็เรียกว่า สุกกรรม (กรรมขาว) ความหมายของกรรมใน ด้านพฤติกรรมสามารถอธิบายได้ดังนี้ (๑) เจตนา หรือการกระทำที่เกิดจาก เจตนา (๒) การกระทำที่เกิดจากกิเลส (๓) การกระทำที่ยังมีการให้ผล “กรรมทวาร” หรือทางทำกรรมของคนเรามี ๓ ทาง คือ ทางกาย ทางวาจา และทางใจ พระพุทธศาสนามีเกณฑ์ตัดสินโดยศึกษาจาก พระพุทธพจน์ที่ปรากฏอยู่ในธรรมบท (ก) เกณฑ์ตัดสินกรรมดี กรรมใด ที่คนทำแล้วไม่ทำให้เดือดร้อนภายหลัง ผู้ทำเสวยวิบาก (ผล) ของ กรรมใดอย่างมีปีติโสมนัส กรรมนั้นจัดเป็นกรรมดี (ข) เกณฑ์ตัดสิน กรรมชั่ว กรรมใดที่คนทำแล้วทำให้เดือดร้อนภายหลัง ผู้ทำเสวยวิบาก (ผล) ของกรรมใดอย่างคนร้องไห้น้ำตานองหน้า กรรมนั้นจัดเป็นกรรม ไม่ดี เกณฑ์ตัดสินทั้งสองเน้นไปที่จิตใจเป็นสำคัญ จึงยึดหลักเจตนา ๓ ระยะมาเป็นฐานในการแบ่งเวทนา เจตนา ๓ ระยะ คือ เจตนาก่อนทำ เจตนาขณะทำ และเจตนาหลังทำ ซึ่งสามารถแบ่งเจตนาหลังทำเป็น เจตนาหลังทำใหม่ ๆ กับเจตนาหลังทำที่ผ่านไปเป็นเวลานาน การให้ผลของกรรม กรรมดีย่อมให้ผลดีกรรมชั่วย่อมให้ผลชั่ว สังคมไทยคุ้นเคยกับพระพุทธพจน์บทนี้และมักพูดแบบรวบรัดว่า “ทำดี ได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว” ต่อมาความเข้าใจเรื่อง ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ของ

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=