198 November'50 Rajbundit.indd

สำนักธรรมศาสตร์·ละการเม◊ Õง วันพุธที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๐ ศาสตราจารย์สั≠ชัย สุวังบุตร ภาคี สมาชิก ประเภทประวัติศาสตร์ สาขาวิชาประวัติศาสตร์สากล บรรยายผลงานทางวิชาการ เรื่อง “Faithful Ruslan สุนัขคุมนักโท… กับการต่อสู้เพื่อเสรี¿าพ” ความว่า Faithful Ruslan นวนิยายสั้น ของ กิออลลี วลาดิมัฟ เป็นงานวรรณกรรมโซเวียตร่วมสมัยที่ได้รับ ยกย่องว่าเป็นวรรณกรรมเกี่ยวกับค่ายกักกันที่โดดเด่นเท่ากับ One Day in the Life of Ivan Denosovich นวนิยายสั้นที่ได้รับรางวัล โนเบล ค.ศ. ๑˘๗๐ ของอะเล็กซานเดอร์ ซอล เจนิทซิน เป็นเรื่อง ราวของสุนัขที่ถูกฝñ กเลี้ยงให้ควบคุมนักโทษค่ายกักกันและมีชีวิตเพื่อ “คุ้มกันและรับใช้” เมื่อค่ายกักกันถูกยุบ รูสลานสุนัขคุมนักโทษไม่ สามารถปรับตัวเข้ากับชีวิตอิสระที่ได้รับ มันจึงสร้างภาพหลอนของ ค่ายกักกันขึ้นและพยายามบังคับควบคุมคนงานที่มารื้อถอนค่าย กักกันจนนำไปสู่การปะทะกันอย่างนองเลือดระหว่างฝูงสุนัขกับคน งาน รูสลานกระดูกหลังหักและสิ้นใจ รูสลานเป็นสัญลักษณ์ของชาว โซเวียตและสมาชิกพรรคที่จงรักภักดีต่อผู้นำและระบอบปกครอง คอมมิวนิสต์ซึ่งหมายถึงค่ายกักกัน เมื่อระบอบปกครองล่มสลาย มันก็ ไม่สามารถคิดและหาทางออกให้กับชีวิตได้และกลายเป็นเหยื่อของ อุดมการณ์ ผู้นำและระบอบสังคมที่มันเคยจงรักภักดี หนังสือดังกล่าว สะท้อน “จิตวิญญาณ” แห่งโซเวียตสมัยสตาลิน ความซื่อสัตย์ภักดี ของรูสลานต่อค่ายกักกันทำให้ผู้อ่านรับรู้ชีวิตด้านมืดในสังคมโซเวียต และเข้าใจพฤติกรรมและทัศนคติของชาวโซเวียต ชีวิตของรูสลานจึง ให้ข้อคิดแก่ชาวโซเวียตที่ต้องทบทวนบทบาทของตนเพื่อจะกล้า ท้าทายศรัทธาความเชื่อเดิมและระบอบเก่าเพื่อก้าวไปข้างหน้าอย่าง อิสระ หนังสือได้รับการถ่ายทอดเป็นภาษายุโรปต่าง ๆ กว่า ๑๕ ภาษาและได้รับการจัดพิมพ์ครั้งแรกในสหภาพโซเวียตใน ค.ศ. ๑˘๘๘ หลัง ค.ศ. ๑˘˘๑ เป็นต้นมา Faithful Ruslan ซึ่งครั้งหนึ่งได้ชื่อว่า เป็นหนังสือต้องห้ามที่เป็นภัยทางความคิดในสังคมโซเวียตก็ได้รับการ ยกย่องอย่างมาก ทั้งในสหพันธรัฐรัสเซียและโลกตะวันตกและเป็นที่ รู้จักกันดีในแวดวงของปัญญาชนที่เคลื่อนไหวเพื่อสิทธิมนุษยชน วันพุธที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ รÕงศาสตราจารย์ ดร.¿ัทรพร สิริกา≠จน ภาคีสมาชิก ประเภทปรัชญา สาขาวิชาอัค¶วิทยา บรรยายผลงานทางวิชาการเรื่อง “ปรากØการณ์ จตุคามรามเทพในมุม มองทางจริยศาสตร์” ความว่า ปรากฏการณ์จตุคามรามเทพมีความ สำคัญต่อสังคมไทยปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเชิงจริยศาสตร์ เนื่องจากเป็นเรื่องที่กระทบต่อแนวคิดเรื่องความผิดชอบชั่วดี ความรับ ผิดชอบต่อตนเองและสังคม วิถีชีวิตของชุมชน การพัฒนาการศึกษา เศรษฐกิจ การเมือง ตลอดจนการส่งเสริมวิสัยทัศน์ในการพึ่งตนเอง และการสร้างสังคมแบบพอเพียง การโ¶ษณาประชาสัมพันธ์ถึงความ ศักดิÏ สิทธิÏ อิทธิฤทธิÏ ปาฏิหาริย์ขององค์จตุคามรามเทพอย่างไร้ขีด จำกัดและปราศจากความเป็นไปได้ทางข้อเท็จจริงนั้น ทำให้ผู้คนใน สังคมเชื่อถืออย่างงมงาย มีความศรัทธาอย่างมืดบอด และตกเป็น เหยื่อของพ่อค้านายทุนที่จัดสร้างวัตถุมงคลดังกล่าว นับตั้งแต่การ ระดมโ¶ษณาอย่างหนัก เพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อศรัทธาในการ แสวงหาจตุคามรามเทพมาบูชากันในช่วง ๒ ปï ที่ผ่านมา ทำให้สังคม ไทยมีความเปลี่ยนแปลงทั้งในทางวัตถุและทางค่านิยมอย่างเห็นได้ชัด เช่น ผู้คนถูกชักนำให้เห็นว่าการบูชาสิ่งศักดิÏ สิทธิÏ และเทพเจ้าเป็น ทางออกของปัญหาชีวิตแทนความขยันหมั่นเพียรในการทำงานและ การพัฒนาค่านิยมของตนเอง พ่อค้านายทุนก็มองเห็นประชาชนเป็น เหยื่อทางเศรษฐกิจที่ตนสามารถปลุกปัò นให้มัวเมาในวิถีชีวิตแบบ วัตถุนิยมต่อไปได้ หากปรากฏการณ์ดังกล่าวยังคงดำเนินต่อไปโดย ปราศจากการแก้ ไขเปลี่ยนแปลง สังคมไทยจะอ่อนแอและล้าหลัง ประเทศเพื่อนบ้านมากยิ่งขึ้น จนยากแก่การช่วยเหลือให้รอด วิกฤตการณ์อย่างแน่นอน แม้กระแสจตุคามรามเทพในปัจจุบันจะแผ่ว เบาลง แต่ค่านิยมของผู้คนที่ได้รับการหล่อหลอมปลูกฝังให้งมงายใน สิ่งเหนือธรรมชาติและละทิ้งการพึ่งพิงตนเองนั้น ยังไม่ได้รับการแก้ไข และยังเป็นจุดอ่อนที่อาจย้อนกลับมาบั่นทอนสังคมไทยโดยรวมได้ใน ภายหน้า สำนักวิทยาศาสตร์ วันพุธที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๐ ศาสตราจารย์ ดร.วรศักดิ์ กนกนุกุลชัย ภาคีสมาชิก ประเภทวิทยาศาสตร์ประยุกต์ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ บรรยายเรื่อง “กรณีศ÷ ก…าปí ≠หาพื้นทางแตกร้าว ของ ท่าอากาศยาน สุวรรณ¿ูมิ Distress in the Tarmac › A Case Study” ความว่า เมื่อเดือนตุลาคมปï ที่แล้ว ประมาณ ๓ อาทิตย์หลังจากเปิดใช้ท่า อากาศสุวรรณภูมิ ปรากฏว่า ได้เกิดรอยแตกและการยุบตัวเป็นร่อง ล้อ (rutting) ที่บริเวณทางขับ (Taxiway) และทางขับเข้าหลุมจอด (Taxilane) เป็นจำนวนหลายจุดอย่างต่อเนื่อง จากการตรวจสอบ ของผู้เชี่ยวชาญของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยใน พระบรมราชูปถัมภ์ พบข้อเท็จจริงว่า ความเสียหายที่เกิดแก่พื้นทาง ของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มีมูลเหตุมาจากการที่น้ำถูกกักอยู่ในชั้น ผ้าห่มทราย (Sand Blanket) ใต้พื้นทาง ซึมผ่านตะเข็บในชั้นฐาน ซีเมนต์หินคลุก หรือ CTB (Cement Treated Base) ขึ้นไป สู่โครงสร้างของชั้นแอสฟัลต์คอนกรีต การแช่ตัวในน้ำเป็นเวลานาน ทำให้แอสฟัลต์คอนกรีตเสื่อมสภาพและรับน้ำหนักไม่ได้ตามที่ออกแบบ ไว้ โครงสร้างของพื้นทางท่าอากาศยานสุวรรณภูมินั้น ออกแบบ ไว้เป็น Flexible Pavement โดยใช้แอสฟัลต์ ๓ ชั้น หนา ๓๓ ซม. วางบนฐานซีเมนต์หินคลุก (Cement Treated Base) หรือ CTB หนา ๗ ซม. ทั้งหมดนี้ ปูวางบนดินอัดแน่นโดยการเร่งรีดน้ำใต้ดินออก (consolidation) โดยวิธี PVD (Prefabricate Vertical Drain) โดยมี ชั้นผ้าห่มทราย (Sand Blanket) หนาประมาณ ๑.๕ ม. ซึ่งเป็นชั้นที่ สามารถระบายน้ำที่อาจไหลตามท่อ PVD ที่ถูกทิ้งค้างไว้ ได้ เมื่อเกิด เหตุ ได้มีการเจาะทดสอบก้อนตัวอย่างเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๐๐ มม. ตลอด ความหนาของชั้นแอสฟัสต์ ๓ ชั้น บริเวณที่มีปัญหาที่ทางขับ พบว่า ก้อนตัวอย่างบริเวณ ๒ ชั้นบน ยังอยู่ในสภาพสมบูรณ์ แต่ชั้นล่างสุด ๏ 3 ªï ∑’Ë Ò˜ ©บับ∑’Ë Ò˘¯ ‡ด◊ Õน惻จิ°ายน Úıı สรุปการบรรยาย เสนÕผลงานค้นคว้า·ละวิจัยขÕงราชบัณ±ิต ·ละ¿าค’ สมาชิก ต่Õท’Ë ประชุมสำนัก ๏ ๏

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=