aw. JULY Rajbundit.indd
§”¢«— ≠√≥√ß§å ‡æ◊Ë Õ °“√„™â ¿“…“‰∑¬ „Àâ ∂Ÿ °µâ Õß∑—È ß °“√æŸ ¥ °“√‡¢’ ¬π ·≈– √â Õ߇æ≈ß ‡√◊Ë Õßπà “√Ÿâ : æ√–√“™∫— ≠≠— µ‘ ¢â Õ¡Ÿ ≈¢à “« “√¢Õß√“™°“√ æ.». ÚıÙ จดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถาน 14 จดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งจัดพิมพ์เป็นฉบับพิเศษ ร่วมรณรงค์เพื่อการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง เนื่องในวันครบรอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ (๒˘ กรกฎาคม ๒๕๕๐) ขอโอกาสพิเศษนี้นำความจาก “พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐” เผยแพร่ ให้ทราบและทำความเข้าใจโดยทั่วกันอีกทางหนึ่ง โดยจะนำลงเป็นตอน ๆ ไปจนกว่าจะจบ ดังต่อไปนี้ ในโอกาสที่ราชบัณฑิตยสถานรณรงค์ให้ปี ๒๕๕๐ เป็นปีภาษาไทย เฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ จดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถาน ได้รับคำขวัญ เพื่อร่วมรณรงค์เนื่องในโอกาสดังกล่าวจากสมาชิกและผู้อ่านจดหมาย ข่าวราชบัณฑิตยสถาน จึงทยอยนำลงเผยแพร่นับตั้งแต่ฉบับนี้เป็นต้น ไป และขอแจ้งให้สมาชิกและผู้อ่านที่สนใจ ส่งคำขวัญมาให้เผยแพร่ได้ ตลอดปี ๒๕๕๐ โดยเขียนในลักษณะร้อยแก้ว หรือร้อยกรอง ความ ยาวไม่เกิน ๔ วรรค และไม่เกิน ๔๐ คำ คำขวัญจากผู้อ่านจดหมายข่าวœ “รักภาษาของชาติ อย่าเป็นทาสภาษาของใคร พูดอ่านเขียนภาษาไทย ให้ลื่นไหลถูกต้องตามตำรา” และ “รักภาษาของชาติ อย่าเป็นทาสภาษาของใคร ร้องพูดอ่านเขียนภาษาไทย ให้ลื่นไหลถูกต้องตามตำรา” ºู้ช่วยศาสตราจารย์วิ‰ลวรรณ สันถวะโกมล มหาวิทยาลัยราชภัØกา≠จนบุรี “พ่อขุนรามทรงประดิษฐ์คิดอักษร ค่าอมรลูกหลานไทยได้ศึกษา ไทยทั่วถ้วนควรรู้รักษ์อักขรา ทั้งพูดจาเขียนอ่านร้องต้องชัดเจน” สุจิรา อำพันแสง คำขวัญจากศูนย์ประชาสัมพันธ์ ราชบัณฑิตยสถาน “รักภาษาไทยควรใช้ให้ถูกต้อง ทั้งการพูดร้องเพลงและอ่านเขียน” “ภาษาไทยคือเอกลักษณ์ไทย รู้รักษาไว้ร่วมกันเชิดชู เขียนอ่านพูดร้องถูกต้องมองดู สมกับที่อยู่เกิดเป็นคนไทย” “รักภาษาไทย เชิดชูและใช้ให้ถูกต้อง” “เรียนรู้ความเป็นไทย ด้วยภาษาไทย” “ภาษาไทย เอกลักษณ์และความภาคภูมิใจของคนไทย” “ภาษาไทย เอกลักษณ์และวัฒนธรรมประจำชาติ” “ภาษาไทยสร้างรากฐาน จิตวิญญาณความเป็นไทย” “ภาษาไทย เอกลักษณ์แห่งความเป็นไทย” “ภาษาไทย รากฐานแห่งความเป็นไทย” นางสาวสุปí ญญา ชมจินดา มนต์ บทเขมาเขมสรณทีปิกาคาถา ซึ่งมีความหมายว่า คาถาที่แสดง ถึงที่พึ่งอันเกษมและไม่เกษม ดังต่อไปนี้ พหุÌ เว สรณÌ ยน⁄ ติ ปพ⁄ พตานิ วนานิ จ อารามรุก⁄ ขเจต⁄ ยานิ มนุส⁄ สา ภยตช⁄ ชิตา เนตÌ โข สรณÌ เขมÌ เนตÌ สรณมุต⁄ ตมÌ เนตÌ สรณมาคม⁄ ม สพ⁄ พทุก⁄ ขา ปมุจ⁄ จติ โย จ พุท⁄ ธê⁄ จ ธม⁄ มê⁄ จ สง⁄ ฆê⁄⁄ จ สรณÌ คโต จต⁄ ตาริ อริยสจ⁄ จานิ ทุก⁄ ขÌ ทุก⁄ ขสมุป⁄ ปาทÌ ทุก⁄ ขส⁄ ส จ อติก⁄ กมÌ อริยê⁄ จฏ˛ ง⁄ คิกÌ มค⁄ คÌ ทุก⁄ ขูปสมคามินÌ เอตÌ โข สรณÌ เขมÌ เอตÌ สรณมุต⁄ ตมÌ เอตÌ สรณมาคม⁄ ม สพ⁄ พทุก⁄ ขา ปมุจ⁄ จติ. คำแปล มนุษย์เป็นอันมาก ถูกภัยคุกคามแล้ว ย่อมถึงภูเขา ป่า อารามและรุกขเจดีย์ว่าเป็นที่พึ่ง ที่พึ่งนั้นแลไม่เกษม ที่พึ่งนั้น ไม่อุดม เพราะบุคคลอาศัยที่พึ่งนั้น ย่อมไม่พ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้ ส่วนผู้ใดถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ว่าเป็นที่พึ่ง ย่อมเห็น อริยสัจ ๔ คือ ทุกข์ เหตุให้เกิดทุกข์ ความก้าวล่วงทุกข์ และอริยมรรค ประกอบด้วยองค์ ๘ อันให้ถึงความสงบระงับทุกข์ ด้วยปัญญาอันชอบ ที่พึ่งนั้นแลเป็นที่พึ่งอันเกษม ที่พึ่งนั้นอุดม เพราะบุคคลอาศัยที่พึ่งนั้น ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้ แต่ท่านผู้อ่านจะตอบอย่างไรนั้น ก็สุดแล้วแต่ เพราะทุกคน มีสิทธิเสรีภาพอย่างเต็มที่อยู่แล้วมิใช่หรือครับ นายสำรวย นักการเรียน นักวรรณศิลป์ ๗ว กองวิทยาศาสตร์
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=