aw. JULY Rajbundit.indd

จดหมายข่าว ปï ที่ Ò˜ ฉบับที่ Ò˘๔ กรกÆาคม Úıı ISSN 0857-7064 §«“¡µÕπÀπ÷Ë ß®“° æ√–∫√¡√“‚™«“∑ ·≈– °√–· æ√–√“™¥”√—   ่ า ราชบัณฑิตยสถาน สนามเสือปÉ า เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร Ò๓ โทร.  Ú๓ıˆ ๔ˆˆ-˜ โทรสาร  Ú๓ıˆ ๔˘ เอกสารเºย·æร่ ราชบัณ±ิตยสถานรณรงค์ให้ปï ๒๕๕๐ เป็นปï ภาษาไทย เฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ เพื่อส่งเสริมให้คนไทยใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องเหมาะสมทั้งด้านการเขียน อ่าน พูด และ ร้องเพลง อันเป็นการส่งเสริมให้คนไทยได้ตระหนักในความสำคั≠ของภาษาไทยซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาติ “ รักภาษา‰ทย ควรใช้ให้ถูกต้อง ทัÈ งการพูด ร้องเพลง และอ่านเขียน” ในโอกาสวันครบรอบวันภาษาไทยแห่งชาติในวันที่ ๒˘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ จดหมายข่าว ราชบัณฑิตยสถาน ฉบับพิเศษ ถือเป็นโอกาสอันสำคัญยิ่ง จึงขอเชิญความบางตอนจากกระแส พระราชดำรัสที่แสดงความห่วงใยและสนพระราชหฤทัยในภาษาไทยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งพระราชทานไว้ เมื่อครั้งเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธานในการประชุมทางวิชาการของชุมนุม ภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุÃาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๒˘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ มาเสนอแก่ท่านผู้อ่าน และได้คัดความบางตอนจากพระบรมราโชวาทและกระแสพระราชดำรัสพระราชทานแก่ประชาชนและคณะบุคคลเนื่อง ในโอกาสต่าง ๆ มาเสนอไว้พร้อมนี้ “…ภาษาไทยนั้นเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งของชาติ ภาษาทั้งหลายเป็นเครื่องมือของมนุษย์ชนิดหนึ่ง คือเป็นทางสำหรับแสดงความ คิดความเห็นอย่างหนึ่ง เป็นสิ่งที่สวยงามอย่างหนึ่งเช่นในทางวรรณคดี เป็นต้น ฉะนั้นจึงจำเป็นต้องรักษาเอาไว้ให้ดี…” ความตอนหนึ่งจากกระแสพระราชดำรัสเรื่องปí ญหาการใช้ภาษา‰ทย ในการประชุมทางวิชาการของชุมนุมภาษา‰ทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๒˘ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๐๕ “…การบัญญัติศัพท์ก็ตาม การใช้ศัพท์ก็ตาม กิจการใด ๆ ก็ตาม ต้องมีเหตุผลอยู่เสมอที่จะทำลงไป อย่าให้เหตุผลนั้นเขวไปเป็น เหตุผลทางการเมือง เหตุผลทางรักชาติเกินควร หรือเป็นความรู้สึกตัวเองเกินไป จนแสดงว่าตัวรู้หรือตัวเก่งเกินไป เพราะว่าไม่ใช่เหตุผล ไม่ใช่หลักที่ถูก…” ความตอนหนึ่งจากกระแสพระราชดำรัสเรื่องปí ญหาการใช้ภาษา‰ทย ในการประชุมทางวิชาการของชุมนุมภาษา‰ทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๒˘ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๐๕ “…ภาษานี้เกิดปัญหาขึ้นได้มากหลายทาง ต้องพยายามช่วยกันแก้ปัญหาต่าง ๆ นี้ และถกเถียงกันเพื่อที่จะขบให้แตก และให้ ภาษาของเราบริสุทธิ์ใช้การได้…” ความตอนหนึ่งจากกระแสพระราชดำรัสเรื่องปí ญหาการใช้ภาษา‰ทย ในการประชุมทางวิชาการ ของชุมนุมภาษา‰ทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๒˘ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๐๕

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=