JUNE'50 Rajbundit.indd
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -- - สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง วันพุธที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๐ ดร.วิชิตวงศ์ ณ ปÑ อมเพชร ราชบัณฑิต ประเภทสังคมศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ บรรยายเรื่อง “เศร…∞กิ®พอเพียง ที่มา สาระสำคั≠ และ เศร…∞กิ®ประเทศไทย” เศรษฐกิจพอเพียงเป็นแบบจำลอง ทางเศรษฐกิจที่อธิบายรูปแบบและแนวคิดการบริหารนโยบาย เศรษฐกิจและสังคมที่เหมาะสมสำหรับประเทศซึ่งยังมีขีด ความสามารถในการพึ่งตนเองทางเทคโนโลยีในระดับต่ำ ที่เรียกว่าประเทศ “ด้อยการพัฒนา” หรือประเทศที่ “กำลัง พัฒนา” โดยมุ่งที่จะรักษาความมั่นคงและสันติสุขในสังคมอีก ทั้งสร้างสมดุลทางเศรษฐกิจให้ราษฎรในพื้นที่ชนบทมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้นตามควรแก่อัตภาพ โดยประกอบด้วยสาระสำคัญ รวมทั้งสิ้น ๕ ประการคือ ๑. พยายามพึ่งตนเองในการผลิต ตามขีดความสามารถทางเทคโนโลยีที่มีอยู่ ๒. ให้เศรษฐกิจ ของประเทศมีแนวโน้มการเติบโตอย่างค่อยเป็นค่อยไปตาม ขีดความสามารถในการพึ่งตนเองทางเทคโนโลยี ๓. ให้รู้จัก ประมาณตนในการบริโภค โดยไม่ ใช้จ่ายเกินรายได้ ๔. พยายามปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีที่มีอยู่ทั้งในด้านการ ผลิต การจัดการ และการตลาด ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ๕. ในกรณีที่เป็นไปได้ ราษฎรในพื้นที่ชนบทอาจรวมกลุ่มใน ลักษณะของ “สหกรณ์อเนกประสงค์” ซึ่งสมาชิกร่วมกันผลิต ร่วมกันจำหน่าย และร่วมกันดูแลสวัสดิการและชีวิตความเป็น อยู่ให้มั่นคง ปลอดภัยและมีสันติสุข เมื่อปรับ “เศรษฐกิจพอ เพียง” ให้เป็น “แบบจำลองทางเศรษฐกิจ” สำหรับเศรษฐกิจ ประเทศไทย จะมีลักษณะสำคัญ คือ ๑. มีภาคเกษตรเป็นฐาน ๒. ภาคเกษตรที่มีศักยภาพในการพัฒนาสูงทั้งด้านที่ดินอุดม สมบูรณ์ ทรัพยากรธรรมชาติ แรงงานที่มีทักษะ และลมฟ้า อากาศที่เอื้อต่อการผลิต ๓. อัตราส่วนระหว่างทุนกับผลผลิต สำหรับภาคเกษตรไม่สูง ซึ่งเหมาะกับประเทศที่มีทุนจำกัด ๔. ภาคเกษตรจะต้องขยายขอบเขตออกไปทั้งในแนวนอนและ แนวตั้ง โดยไม่จำกัดการประกอบการที่อยู่กับพืชชนิดเดียว หรือกิจกรรมแต่เพียงอย่างเดียว ๕. การบริหารจัดการ เศรษฐกิจภาคเกษตรพึงกระทำในรูปแบบของ “สหกรณ์ อเนกประสงค์” ๖. เมื่อภาคเกษตรมีความเข้มแข็ง ภาค เศรษฐกิจอื่น ๆ ก็ย่อมตั้งอยู่บนฐานที่แข็งแรง ซึ่งจะพัฒนาไป ได้เพียงไรและรวดเร็วแค่ไหน ก็ขึ้นอยู่กับขีดความสามารถ ทางเทคโนโลยี และการบริหารจัดการในแต่ละสาขา วันพุธที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๕๐ ศาสตราจารย์ ดร.มนัส สุวรรณ ภาคีสมาชิก ประเภทสังคมศาสตร์ สาขาวิชาภูมิศาสตร์ บรรยายเรื่อง “แนวทางการหลอมรวม ยุบรวม และยก∞านะ สถาบันอุดมศ÷ ก…าของรั∞” การจัดการการอุดมศึกษาของ ประเทศไทยเพื่อให้สอดคล้องกับบริบทด้านงบประมาณของ ประเทศ และด้านความเหมาะสมระหว่างอุปสงค์-อุปทานด้าน การศึกษาระดับอุดมศึกษา ด้วยการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษา หรือมหาวิทยาลัยเต็มรูปแบบแห่งใหม่ คงไม่ใช่แนวทางที่ดี ที่สุด ทางเลือกที่น่าจะเป็นมาตรการหรือแนวทางที่เหมาะสม และเป็นไปได้มากที่สุด คือ การหลอมรวม ยุบรวม ยกฐานะ หรือแม้แต่การสร้างเสริมระบบเครือข่ายอุดมศึกษา ทั้งนี้ ประสบการณ์การหลอมรวม ยุบรวม และ/หรือยกฐานะ สถาบันอุดมศึกษาที่ศึกษานี้ ได้ทบทวนทั้งกรณีของต่าง ประเทศ และกรณีของประเทศไทย ทำให้เกิดความเชื่อมั่นว่า การปฏิรูปอุดมศึกษาของชาติต่อไปในอนาคตไม่จำเป็นต้อง อนุญาตให้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยใหม่ แต่ควรส่งเสริม สนับสนุนในการหลอมรวม ยุบรวม และ/หรือยกฐานะสถาบัน อุดมศึกษาเป็นพิเศษ เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทด้านการ ศึกษาระดับอุดมศึกษาที่กำลังเป็นอยู่ และกำลังจะเป็นไปใน อนาคต และสอดคล้องกับปัจจัยจำกัดด้านอื่น ๆ 3 ªï ∑’Ë Ò˜ ©บับ∑’Ë Ò˘Û ‡ด◊ Õนมิถÿ นายน Úıı สรÿ ª°ารบรรยาย‡สนÕº≈ßาน§â น§วâ า·≈–วิจัยขÕßราชบัณฑิต·≈–¿า§’ สมาชิ°ต่Õ∑’Ë ªร–ชÿ มส”นั° บริการด้านวิ™าการแก่สังคมอย่างกว้างขวาง ´÷่ งปí ®®ุบันได้มีการพั≤นาการให้บริการโดยเพิ่ม™่องทางการให้บริการ ได้แก่ การ®ัดรายการ วิทยุให้ข้อมŸ ลความรŸ้ เกี่ยวกับ¿า…าไทย ในรายการ รŸ้ รัก ¿า…าไทย ทางสถานีวิทยุกระ®ายเสียงแห่งประเทศไทย การให้บริการทางเวÁ บไ´ต์ ของรา™บั≥±ิตยสถาน โดยเปî ดโอกาสให้ประ™า™นทั่วไปที่สนใ®เข้ามามีส่วนร่วมมากข÷้ น เ™่น ให้บริการสอบถามความหมายหรือสอบถาม ปí ≠หาการใ™้¿า…าไทย รวมทั้งรวมแสดงความคิดเหÁ นต่าง Ê ทางเวÁ บบอร์ด ´÷่ งได้รับความสนใ®อย่างมาก และเนื่องในปï นี้ เปì นปï มหามงคล รา™บั≥±ิตยสถาน®÷ งได้ร่วมกับหน่วยงานต่าง Ê ทั้ง¿าครั∞และ¿าคเอก™น ®ัดโครงการ “ร≥รงค์ปï Úıı เปì นปï ¿า…าไทย เ©ลิมพระเกียรติ พระบาทสมเดÁ ®พระเ®้าอยŸ่ หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเ©ลิมพระ™นมพรร…า ¯ พรร…า ı ธันวาคม Úıı” ®÷ งขอความร่วมมือประ™า™น ทั่วไปร่วมร≥รงค์การใ™้¿า…าไทยให้ถŸ กต้องเหมาะสมทั้งการเขียน การอ่าน การพŸ ด และการร้องเพลง และรา™บั≥±ิตยสถานยินดีและเปî ด โอกาสให้ประ™า™นทั่วไปได้มีส่วนร่วมในการ®ัดทำพ®นานุกรมคำใหม่ เพื่อ®ะให้การนิยามศัพท์เปì นไปด้วยความถŸ กต้องและเปì นตามความ ต้องการและเปì นมาตร∞านเดียวกัน” ë
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=