JUNE'50 Rajbundit.indd

2 จดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถาน ศาสตราจารย์ ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช นายกรา™บั≥±ิตยสถาน ได้แถลงข่าวเรื่อง “ การจัดทำพจนานุกรมคำ„หม่ ©บับราช- บัณฑิตยสถานé ร่วมกับ ศาสตราจารย์ ดร.กา≠จนา นาคสกุล รา™บั≥±ิต และ นางจินตนา พันธุøí ก เลขาธิการรา™บั≥±ิตยสถาน ≥ Àâ Õߪ√–™ÿ ¡ ÛÚ-ÛÛ ™—È π Û √“™∫— ≥±‘ µ¬ ∂“π  π“¡‡ ◊ ÕªÉ “ ‡¡◊Ë Õ«— π∑’Ë ˜ ¡‘ ∂ÿ π“¬π Úıı เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ข้อมูลที่ ถูกต้องแก่สื่อมวลชนเกี่ยวกับการจัดทำและเก็บคำศัพท์ใหม่ ๆ ในพจนานุกรมของราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งมีกระแสเกี่ยวคำศัพท์ใหม่ที่เกิดขึ้น ตามยุคสังคมปัจจุบัน เช่น ศัพท์ที่นิยมใช้ในกลุ่มวัยรุ่น กลุ่มเฉพาะ ศาสตราจารย์ ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช ได้แถลงว่า ç°“√®— ¥∑”æ®π“πÿ °√¡§”„À¡à ©∫— ∫√“™∫— ≥±‘ µ¬ ∂“π นั้น เมื่อกล่าวถึงงาน พจนานุกรมของราชบัณฑิตยสถาน คนส่วนใหญ่จะนึกถึงเฉพาะพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งจะเก็บคำที่ใช้อยู่ในภาษา ไทยและเกิดขึ้นเป็นเวลานานนับสิบปี และใช้กันจนติดแล้ว แท้จริงแล้วราชบัณฑิตยสถานยังมีการจัดทำพจนานุกรมอีกหลายประเภทนอก เหนือจากพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้แก่ พ®นานุกรมโบรา≥ศัพท์ ที่รวบรวมคำศัพท์ที่ปรากฏในเอกสารเก่า เช่น ศิลาจารึก กฎหมายเก่า วรรณคดีโบราณ พ®นานุกรมสำหรับนักเรียน รวบรวมคำที่ปรากฏในตำราเรียนของนักเรียนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาถึงระดับ อุดมศึกษา พ®นานุกรมเ©พาะสาขาวิ™า เช่น วรรณคดีไทย วรรณกรรมท้องถิ่นภาคต่าง ๆ ดนตรีไทย ดนตรีสากล และ æ®π“πÿ °√¡¿“…“ ‰∑¬ªí ®®ÿ ∫— πÀ√◊ Õæ®π“πÿ °√¡§”„À¡à ที่เก็บคำศัพท์ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยปัจจุบัน ภาษาเป็นสิ่งที่เราใช้สื่อสารกันในปัจจุบัน และภาษาไทยมีการ ผันแปรและเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกับสังคมของคนในชาติ มีคำใหม่ สำนวนใหม่ วลีใหม่เกิดขึ้นทุกวัน คำเดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการใช้ ขยายความหมาย หรือเปลี่ยนความหมายผิดแผกจากเดิม เช่น “กระหึ่ม” เดิมมีความหมายแค่ เสียงดัง อย่างเช่น เสียงดนตรีดังกระหึ่ม ต่อ มาขยายความหมายไปถึง ชื่อเสียงที่โด่งดังรู้จักกันไปทั่ว เช่นพูดว่า นักร้องคนนี้ชื่อเสียงดังกระหึ่ม หรือคำที่เกิดขึ้นใหม่ เช่น คำว่า çเดÁ กซิ่ลé หรือ çเดÁ กซิ่วé ซึ่งมีที่มาจากคำภาษาอังกฤษว่า fossil นอกจากนี้ นางจินตนา พันธุøí ก เลขาธิการรา™บั≥±ิตยสถาน ได้กล่าวเพิ่มเติมว่า “การ®ัดทำพ®นานุกรมคำใหม่ ©บับรา™บั≥±ิตยสถานนี้ ทำให้ทราบถ÷ งบริบททางสังคม การเมือง เศร…∞กิ® ในสมัยนั้น Ê ที่นำไปสŸ่ การเกิด ศัพท์ดังกล่าว เมื่อเวลาผ่านไปกÁ ®ะสามารถกลับมาอ่านหนังสือพิมพ์ได้เข้าใ®อย่างถ่องแท้ หากเกิดกร≥ีต้องตีความหมายของคำที่เกิดใหม่´÷่ ง เปì นประเดÁ นพิพาทในคดีความ พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ ศาล ทนายความ และผŸ้ ที่เกี่ยวข้องกÁ ®ะใ™้ประโย™น์®ากพ®นานุกรมเล่มนี้ ได้ เ™่น คดีหมิ่นประมาททางอา≠า คดีทางแพ่ง เปì นต้น รา™บั≥±ิตยสถานเปì นเสมือนองค์กรกลางที่ให้บริการความรŸ้ ในเรื่องคำศัพท์ต่าง Ê ดังนั้น คำศัพท์ที่เกี่ยวกับวัยรุ่นกÁ เปì นเพียงส่วนเดียวใน Ò ประเ¿ท ที่รวบรวมไว้ในพ®นานุกรมเล่มนี้เท่านั้น ข≥ะนี้รา™บั≥±ิตยสถานได้ให้ การแถลงข่าวเรื่อง การจัดทำพจนานุกรมคำ„หม่ ©บับราชบัณฑิตยสถาน

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=