MAY Rajbundit.indd
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -- - - 7 ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๑๙๒ เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๐ æ®π“πÿ °√¡©∫— ∫√“™∫— ≥±‘ µ¬ ∂“π æ.». ÚıÙÚ ใช้เครื่องหมายพินทุ เป็นเครื่องหมายบอกวิธีอ่าน ดังปรากฏคำชี้แจงดังนี้ คำอ่านที่มีเครื่องหมายพินทุจุดไว้ข้างใต้ตัวอักษร มีความหมาย ดังนี้ ก. ตัวอักษรนั้นเป็นอักษรนำและไม่อ่านออกเสียง ได้แก่ ตัว ห ใช้พินทุ จุดไว้ข้างใต้ตัว ห เพื่อไม่ให้อ่านเป็นอย่างอื่นซึ่งมีความหมายต่างกัน เช่น เหลา [เห⁄ ลา] เหย [เห⁄ ย] แหงน [แห⁄ งน] ข. ตัวอักษรนั้นเป็นอักษรควบกล้ำ ซึ่งในภาษาไทยมี ๓ ตัว คือ ร ล ว ใช้พินทุ จุดใต้พยัญชนะตัวหน้า เพื่อให้อ่านพยัญชนะตัวหน้า ๒ ตัว ควบกัน เช่น ไพร [ไพ⁄ ร] ปลอบ [ป⁄ ลอบ] กว่า [ก⁄ ว่า] นอกจากนี้แล้ว เครื่องหมายพินทุยังปรากฏอยู่ในเรื่องประวัติของ คำด้วย เพื่อบอกที่มา เช่น ธม⁄ ม (บาลี) ธร⁄ ม (สันสกฤต) ไทยใช้ว่า ธรรม ในที่ นี้เครื่องหมายพินทุที่กำกับอยู่ข้างใต้ตัวพยัญชนะเป็นเครื่องบอกให้ทราบว่า พยัญชนะตัวนั้นไม่มีสระตามมา เพื่อให้เห็นได้ชัดว่าคำทั้งสองนี้ออกเสียง อย่างไร จะขอใช้อักษรโรมันเป็นตัวแทนดังนี้คือ ธม⁄ ม (dhamma) กับ ธร⁄ ม (dharma) เมื่อไทยยืมคำนี้มาใช้ก็ได้ดัดแปลงทั้งรูปการเขียนและการออก เสียงเพื่อให้เข้ากับระบบของภาษาไทย โดยใช้ ร หัน แทน ร⁄ ให้ออกเสียงเป็น เสียงอะ แล้วให้ ม เป็นตัวสะกด คำนี้จึงออกเสียงว่า [ทัม] (สระอะ + ม, เปลี่ยนรูปวิสรรชนีย์เป็นไม้หันอากาศ) ถึงแม้ว่าผู้ใช้ภาษาทั่วไปอาจจะไม่รู้จักทั้งพินทุและยามักการ แต่พินทุก็ ยังมีสถานภาพที่ดีกว่า นั่นคือยังใช้เป็นเครื่องหมายบอกเสียงอ่านอยู่ใน พจนานุกรม ยามักการถูกทอดทิ้งมาเป็นเวลานานแล้ว ทั้ง ๆ ที่เคยทำหน้าที่บอก เสียงควบกล้ำเคียงคู่มากับพินทุ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ พราหมณา อันว่าวิสุทธิพราหมณทั้งหลายนั้น ( สวดมนต์แปล ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ โรงพิมพ์บำรุงนุกูลกิจ พิมพ์ ครั้งที่ ๒ ร.ศ. ๑๒๘ หน้า ๓๐) อิเม ทวัต์ตึสาการ อันว่าอาการทั้งหลาย ๓๒ นี้ ( สวดมนต์แปล ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ โรงพิมพ์บำรุงนุกูลกิจ พิมพ์ ครั้งที่ ๒ ร.ศ. ๑๒๘ หน้า ๙๗) [À≈— °‡°≥±å °“√„™â ‡§√◊Ë ÕßÀ¡“¬«√√§µÕπ·≈–‡§√◊Ë ÕßÀ¡“¬Õ◊Ë π Ê À≈— °‡°≥±å °“√‡«â π«√√§ À≈— °‡°≥±å °“√‡¢’ ¬π§”¬à Õ (แก้ ไขเพิ่มเติม) (พิมพ์ครั้งที่ ๕) ๒๕๓๓] ทั้งนี้เพราะ “ยามักการ” มาจากคำว่า “ยมก” ซึ่งแปลว่า “คู่” กับ “การ” ซึ่งแปลว่า “เสียง” รวมความได้ว่า “เสียงคู่” หรือ “การมีเสียงคู่” อย่างไรก็ตาม พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ ประพันธ์ ทรงเห็นว่ายามักการน่าจะมีหน้าที่ได้อีกอย่างหนึ่ง ดังดำริที่ว่า “ในการยืมคำจากต่างประเทศนัÈ น ในสมัยนีÈ มักจะนิยมใช้ศัพท์ให้ตรงกับ อักขวิ∏ี ในภาษาเดิม แม้จะอ่านออกหรือไม่กÁ ตาม เพราะ©ะนัÈ นดูไม่ค่อยจะนิยม ใช้ ไม้ทั≥±¶าต การันต์ ของไทยเราดูนิยมใช้พินทุ์ จุดข้างล่างแทน ซ÷่ งที่แท้ ∂้าจะใช้ควรจะใช้แทน ซ÷่ งเปì นเครื่องหมายให้ออกเสียงพยัญชนะ โดยไม่มี เสียงสระประกอบ...” (æ√–Õ— ®©√‘ ¬≈— °…≥å ¥â “π¿“…“»“ µ√å ของ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์ เธอ กรมหมื่น นราธิปพงศ์ประพันธ์ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๔ หน้า ๘๘) ซึ่งแสดงเครื่องหมายยามักการใช้กำกับพยัญชนะที่ยังออกเสียงได้ ส่วน ทัณฑฆาตนั้นไม่ควรใช้เลย เพราะเป็นเครื่องหมาย “ฆ่าเสียง” การใช้เครื่องหมายยามักการกำกับพยัญชนะที่ยังออกเสียงได้นี้เคย ปรากฏมาแล้ว ในคำภีร์สรรพพจนานุโยค แสมูเอ็ล เจ. สมิท A Comprehensive Anglo-Siamese Dictionary by Samuel J. smith (สำนักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดพิมพ์ครั้งที่ ๒ ใน พ.ศ. ๒๕๔๒) ซึ่งเป็นพจนานุกรม อังกฤษ-ไทย ฉบับแรก ในรัชกาลที่ ๔ ปรากฏข้อความดังนี้ (ตัวสะกดตามแบบเดิม) England, n. อิงแคลนด์, ประเทศพวกอิงคลิซ. English, a อิงคลิซ, สำหรับประเทศฤๅคนประเทศอิงแคลนด์. ก. ชาว ประเทศอิงแคลนด; ภาษาอิงคลิซฤๅประเทศอิงแคลนด, แลวงษ์วาณเขาใน ประเทศอินเดีย อะเม็ริกะแลประเทศอื่น. สมิท มิได้ใช้คำว่า อังกฤษ หรือ เองแคลน แบบคนไทย แต่เขาใช้คำว่า อิงแคลนด กับ อิงคลิซ เครื่องหมายที่กำกับ ด เด็ก กับ ซ โซ่ อยู่นั้น ไม่ใช่ เครื่องหมาย ทัณฑ¶าต (์ ) แต่เป็นเครื่องหมาย ยามักการ ( ) การใช้เครื่องหมายยามักการของหมอสมิทนั้นมีจุดประสงค์ที่แน่นอน ไม่ใช่นำมาใช้แทนเครื่องหมายทัณฑฆาต และยังสะท้อนให้เห็นวิธีการสอน ภาษาอังกฤษให้แก่คนไทยในสมัยนั้นอีกด้วย หมอสมิทสอนว่า ตัวสะกดในคำภาษาอังกฤษนั้นต้องออกเสียงด้วย ถ้ามี ตัวสะกดหลายตัวก็ต้องออกเสียงทุกตัว ไม่เหมือนกับภาษาไทยที่มีตัวสะกด เพียงเสียงเดียว และไม่ออกเสียง ในปัจจุบันนี้คนไทยเริ่มมีความคุ้นเคยกับเสียงภาษาอังกฤษ จึงเริ่มมี ปัญหากับคำทับศัพท์ซึ่งใช้เครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับ เพราะเริ่มได้ยินเสียง เช่น คำว่า “เกมส์” มีผู้ออกเสียง ส เสือ เล็กน้อย ทั้ง ๆ ที่มีเครื่องหมายทัณฑ- ฆาตกำกับ “ฆ่าเสียง” ไปเรียบร้อยแล้ว ดังในคำว่า “หงส์” มีผู้เสนอว่า ให้ขยายเกณฑ์การใช้เครื่องหมายทัณฑฆาตออกไปเป็น ๒ อย่างคือ ถ้าคำนั้นเป็นคำที่ยืมมาจากภาษาบาลีสันสกฤตไม่ต้องออกเสียง แต่ ถ้ายืมจากภาษาอังกฤษให้ออกเสียงได้นิดหนึ่ง กฎเกณฑ์เช่นนี้อาจจะทำให้การอ่านภาษาไทยยุ่งยากขึ้นไปอีก เพราะ ต้องจำให้ ได้ว่า คำที่จะอ่านนั้นมาจากภาษาอะไร ซึ่งมิใช่วิสัยของผู้ใช้ภาษา ทั่วไป คำบางคำไม่มีเครื่องหมายใด ๆ กำกับเลยก็ยังออกเสียงไม่เหมือนกัน หากผู้ใช้ภาษาจำได้ว่ายืมมาจากภาษาใด เช่น “นุช” กับ “บุช” ในปัจจุบันนี้ คำว่า “นุช” ออกเสียงเป็น “นุด” แต่คำว่า “บุช” มักจะมีการออกเสียงข้าง ท้ายเล็กน้อย เพราะผู้ใช้ภาษาทราบว่ามาจากคำว่า “Bush” เครื่องหมายยามักการจะช่วยแก้ปัญหาเหล่านี้ได้ เพราะ “เกมส์” ออก เสียงต่างจาก “หงส์” และ “นุช” ออกเสียงต่างจาก “บุช” ท่านผู้รู้หลายท่านลงความเห็นว่า การจะนำยามักการกลับมาใช้นั้นคง เป็นเรื่องยากเพราะนอกจากยามักการจะหายหน้าหายตาไปนาน จนผู้ใช้ภาษา ปัจจุบันแทบจะไม่รู้จักแล้ว ก็ยังไม่สามารถจะพิมพ์ได้ด้วย ดังที่เกริ่นไว้แล้ว ข้างต้น ในปัจจุบันนี้สำนักพิมพ์บางแห่งได้พยายามนำยามักการกลับมาใช้อีก ดังที่ปรากฏในงานแปลเรื่อง ‰À¡ ของ งามพรรณ เวชชาชีวะ และในอีก หลาย ๆ เรื่อง มีคำชี้แจงจากสำนักพิมพ์ว่า “ได้นำเครื่องหมายยามักการมาใช้เพื่อ กำหนดการออกเสียงคร÷่ งเสียง โดยเ©พาะคำที่∂่ายเสียงจากภาษาต่าง ประเทศ” ซึ่งออกเสียงเช่นนั้น ดังในคำว่า แอร เว ¨องกูร, โฟลแบร, แบรเบ็ก, แปรโน, แวรเดิง, เมตซ, มาดามบลองช, ปาสเตอร, เซ็นต์ปีเตอร์ส เบิร์ก, ชารดอนเน นอกจากนี้ «à “ß«— 𠉵√‡®√‘ ≠«‘ «— ≤πå ºŸâ ·ª≈‡√◊Ë Õß ¥Õπ°‘ ‚¶‡µâ ·Àà ß ≈“¡— π™à “ ¢ÿ ππ“ßµË ”»— °¥‘ Ï π— °Ωí π จากภาษาสเปน ก็ใช้เครื่องหมายยามักการ โดยให้คำอธิบายไว้ว่า ผู้เขียนใส่เครื่องหมาย “ ” เพื่อออกเสียงนั้น ๆ เช่น เซรบันเตส ต้องรัวลิ้น พยัญชนะ “ร” เล็กน้อย (สว่างวัน ไตรเจริญวิวัฒน์, ๒๕๔๘, น. ๑) อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าสำนักพิมพ์บางแห่งจะได้พยายามนำเครื่อง หมายยามักการกลับมาใช้ แต่การใช้นั้นก็มีความยุ่งยากพอสมควร เพราะต้อง ใช้เทคนิคพิเศษบางประการจึงจะสามารถแทรกเครื่องหมายนี้ลงไปได้ คณะ กรรมการปรับปรุงหลักเกณฑ์การทับศัพท์จึงมิได้นำเครื่องหมายนี้กลับมาใช้ ทั้ง ๆ ที่เป็นเครื่องหมายที่มีประโยชน์มาก ดังที่ได้ยกมากล่าวแล้วข้างต้น. √Õß»“ µ√“®“√¬å ¥√.π‘ µ¬“ °“≠®π–«√√≥ ภาคีสมาชิก สำนักศิลปกรรม ประเภทวรร≥ศิลปá สาขาวิชาภาษาไทย กรรมการปรับปรุงหลักเก≥±์การทับศัพท์ ี ย้ ำี ยู่ มั บิ นุั งั ว่ า่ อี้ั น่ าิ สุทิ พั้ งั้ นี ย้ ำี ยู่ มั บิ นุั งั ว่ า่ อี้ั น่ าิ สุทิ พั้ งั้ น้้้ ÷่ ìื่้ีั่ีิิิิ์ิิิิ์ิิิิ์ิ งั บั งิ งิ ซื่ อี่ กั บ็ กั บู่่ นั้น่่ื่ั่้ั่ี้้์ี ย่ า์ ”ุ ชี ย่ าุ ชึ่ี่ั้ัู่็ กิ ง็ น์ ปีเ์ สึ่ี่ั้ัู่ึ่ี่ั้ัู่ึ่ี่ั้ัู่็ กิ ง็ น์ ปีเ์ สึ่ี่ั้ัู่็ กิ ง็ น์ ปีเ์ สึ่ี่ั้ัู่็ กิ ง็ น์ ปีเ์ สึ่ี่ั้ัู่็ กิ ง็ น์ ปีเ์ สึ่ี่ั้ัู่็ กิ ง็ น์ ปีเ์ สึ่ี่ั้ัู่็ กิ ง็ น์ ปีเ์ สิ ร์กู้ี่ื่ื่ีั้่ัู้ี่ื่ื่ีั้่ัิ เั ต์ตึสั น่ าั้ งี้ิ ง์ ,ิ งิ ซิ งิ ซั บิ ง์ .
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=