MAY Rajbundit.indd
มั่นคงถาวรสืบไป กุศโลบายดังกล่าวนับเป็นภูมิปัญญาในการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ศรีลังกาในสมัยนั้น ตำนานพระเจ้าเลียบโลก เป็นยิ่งกว่าวรรณกรรมที่เล่าถึงความเป็นมาของบ้านเมืองและตำนาน ศาสนสถาน เพราะได้สอดแทรกคติด้านศีลธรรม จริยธรรม การประพฤติ ปฏิบัติตนให้ชอบ การทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา การรักษาศาสนสถาน ตลอดจนสิ่งแวดล้อม อาจกล่าวได้ว่า วรรณกรรมเรื่องนี้น่าจะเกิดขึ้นจาก กุศโลบายของพระสงฆ์ล้านนาสมัยก่อนที่พยายามสร้างความเลื่อมใส ศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา สั่งสอนให้คนในท้องถิ่นเป็นคนดี มีศีลธรรม ช่วยกันดูแลศาสนสถาน ตำนานพระเจ้าสร้างโลกแม้จะได้อิทธิพลแนวคิด การสร้างตำนานเมืองและตำนานศาสนสถานจากศรีลังกา แต่ก็สะท้อนให้ เห็นภูมิปัญญาของพระสงฆ์ล้านนาที่มีการปรับเปลี่ยนและเพิ่มเติมประเด็น ที่เหมาะสมกับสภาพในท้องถิ่นของตนในอดีต พระสงฆ์ ในล้านนามี กุศโลบายให้พุทธศาสนิกชนใกล้ชิดพระพุทธศาสนาหลายวิธี นอกจากการ สร้างตำนานเมืองและตำนานศาสนสถาน การสร้างชาดกนอกนิบาต เพื่อ สั่งสอนคติธรรมทางศาสนาแล้ว ล้านนายังมีคติความเชื่อในเรื่องการบูชา พระธาตุตามปีเกิดที่เรียกว่า “ชุธาต” การถวายพระธรรมตามปีเกิด เดือน เกิดและวันเกิด เป็นต้น ตำนานพระเจ้าเลียบโลกฉบับแรกน่าจะแต่งขึ้นใน ล้านนา ด้วยพลังแห่งศรัทธาในพระพุทธศาสนา ตำนานเรื่องนี้ ได้แพร่ หลายต่อไป ทำให้ดินแดนที่อยู่ในพุทธอาณาเขตตามตำนานขยายกว้างขวาง ออกไปด้วย นั่นคือ เป็นดินแดนที่มีความสัมพันธ์กับล้านนาและรับอิทธิพล พระพุทธศาสนาจากล้านนา แต่ตำนานพระเจ้าเลียบโลกฉบับต่าง ๆ เหล่า นั้นก็มีการเพิ่มเรื่องราวที่สอดคล้องกับท้องถิ่นของตน นอกจากฉบับลาย ลักษณ์แล้ว ยังมีฉบับมุขปาฐะซึ่งชาวบ้านเล่าถ่ายทอดสืบต่อกันมาด้วย เช่น ตำนานเกี่ยวกับชื่อของเมืองเชียงรุ่ง เมืองฮำ ในสิบสองพันนา ตำนาน เมืองวันเที่ยง และเมืองขอนในเขตใต้คงในปัจจุบัน การเทศน์ตำนานพระเจ้า เลียบโลกทั้งฉบับสั้นและฉบับยาวเสื่อมความนิยมลงไปมาก มีผู้ให้เหตุผล ว่า น่าจะเป็นเพราะปัจจุบันมีการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับพุทธประวัติ และลง ความเห็นว่าพระพุทธเจ้าไม่เคยเสด็จมาในเขตสุวรรณภูมินี้ ประกอบกับ เนื้อหาสาระของตำนานบางตอนเกี่ยวข้องกับเรื่องอิทธิปาฏิหาริย์ คนในยุค ปัจจุบันเห็นว่าไร้เหตุผลจึงไม่นิยมฟังเทศน์เรื่องนี้ การเทศน์ดังกล่าวมีอยู่บ้าง เฉพาะตามชนบท นอกจากนี้ยังมีเหตุผลเพิ่มเติมคือ พระสงฆ์ในล้านนา ปัจจุบันจำนวนมากอ่านตัวอักษรพื้นเมืองไม่ออก ประกอบกับคำศัพท์ที่ใช้ บางคำเป็นคำโบราณ คนปัจจุบันฟังไม่เข้าใจ เนื้อเรื่องค่อนข้างยาว บาง ส่วนก็กล่าวถึงบ้านเมืองที่ไม่เคยรู้จัก ปัจจุบันพระสงฆ์ในเมืองนิยมเทศน์ เรื่องราวที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ใกล้ตัวมากกว่า แม้นิทานชาดกซึ่งเคยเป็นที่นิยม มากในสมัยก่อนปัจจุบันก็เทศน์น้อยลง สังคมเปลี่ยนไป วิถีชีวิตของคนใน สังคมเปลี่ยนไป คนไทย-ไท มีการศึกษามากขึ้น การเผยแพร่ความรู้และ คติธรรมทางพระพุทธศาสนาก็จำเป็นต้องปรับเปลี่ยนทั้งด้านรูปแบบ เนื้อหา และวิธีการ. - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -- ºŸâ สน„จบทความดัß°≈่าวขออนÿ ≠าตคâ นควâ า‰ดâ ที่หâ อßสมÿ ดราชบัณฑิตยสถาน ตามพร–ราชบั≠≠ัติขâ อมŸ ≈ข่าวสาร พ.». ๒๕Ù๐ 6 จดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถาน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕Ù๒ กล่าวไว้ว่า ยามักการ น. ชื่อเครื่องหมายบังคับให้อ่านพยัชนะควบ มีรูปดังนี้ ใช้ ในหนังสือ บาลีรุ่นเก่า เช่น ในปัจจุบันใช้เครื่องหมาย พินทุแทน เป็น กต⁄ วา ทิส⁄ วา ในข้อความข้างต้นนี้ ยามักการ หมายถึงเครื่องหมายหยัก ๆ คล้ายกับ ตัว E เขียนเป็นตัวเอน ๆ กำกับไว้บนตัวพยัญชนะ ส่วนพินทุคือเครื่องหมาย จุด ที่กำกับไว้ใต้พยัญชนะ ในปัจจุบันนี้ ไม่มีเครื่องหมายทั้งสองอยู่บนแผงแป้นอักขระ (keyboard) ของคอมพิวเตอร์แล้ว อันที่จริงแม้แต่แป้นพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ดีดในสมัยก่อน ก็ไม่มีเครื่องหมายนี้ เมื่อใดที่ต้องการใช้ก็ต้องใช้วิธีแทรก (insert) สัญลักษณ์ หรือสร้างรหัสคำสั่งแมโคร (macro code) ขึ้นมาใช้เอง ผู้ ใช้ภาษาไทยทั่วไปอาจจะมองไม่เห็นประโยชน์ของเครื่องหมาย ทั้งสองนี้ เพราะไม่ปรากฏอยู่ในรูปการเขียนปัจจุบัน แต่เมื่อพิจารณาให้ ละเอียดลงไปจะเห็นว่าเครื่องหมายดังกล่าวนี้ยังมีประโยชน์อยู่มาก หน้าที่ของยามักการ ด้วยมีผู้ใช้ศัพท์ธรณีวิทยาคนหนึ่ง พบศัพท์ tectonics „πÀπ— ß ◊ Õ æ®π“πÿ °√¡»— æ∑å ∏√≥’ «‘ ∑¬“ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แล้วสงสัยว่า เหตุใดคณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา ราชบัณฑิตยสถาน จึงบัญญัติศัพท์ tectonics ว่า ç∏√≥’ ·ª√ — ≥∞“πé ทำไมจึงไม่บัญญัติว่า ธรณีวิทยาแปรสัณฐาน ทั้งที่ศัพท์คำนี้มีความหมายเป็นศาสตร์สาขาหนึ่งด้าน ธรณีวิทยา จึงขอชี้แจงถึงเหตุผลในการบัญญัติศัพท์ tectonics ว่า คณะกรรม- การฯ ได้ใช้หลักการบัญญัติศัพท์โดยพิจารณารูปศัพท์ภาษาอังกฤษและความ หมายของศัพท์เป็นเกณฑ์ เนื่องจากรูปศัพท์ภาษาอังกฤษของ tectonics ไม่มี คำว่า “-logo” ดังนั้น คณะกรรมการฯ พิจารณาแล้วจึงเห็นสมควรบัญญัติ ศัพท์นี้ว่า “ธรณีแปรสัณฐาน” ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้กันจนเป็นที่เข้าใจแพร่ หลายแล้วในวงการธรณีวิทยา เพราะเป็นคำที่สั้น กะทัดรัด และถูกต้องตาม ความหมาย โดยที่ tectonics มีความหมายเหมือนกับศัพท์ geotectonics และ global tectonics คณะกรรมการฯ จึงได้เก็บศัพท์คู่กันโดยใช้ เครื่องหมายอัฒภาค (;) คั่น ตามรูปแบบการเก็บศัพท์ ส่วนการจะบัญญัติศัพท์ เพื่อให้สื่อว่าเป็นศาสตร์นั้น คณะกรรมการฯ ได้พิจารณาแล้วเห็นสมควร บัญญัติว่า วิชาธรณีแปรสัณฐาน เช่นที่ปรากฏในคำอธิบายศัพท์ดังนี้ tectonics; geotectonics; global tectonics ∏√≥’ ·ª√ — ≥∞“π : ∏ร≥ีวิทยาสาขาหน÷่ งที่ศ÷ กษา∂÷ งลักษ≥ะโครงสร้างของ∏ร≥ีวิทยาที่เกิดจาก แรงหรือกระบวนการภายในโลกที่มากระทำต่อเปลือกโลก หรือศ÷ กษา∂÷ งแรง กระทำต่อเปลือกโลกที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษ≥ะโครงสร้าง ดังนัÈ น ธรณีวิทยาโครงสร้างจึงเป็นส่วนหนึ่งของธรณีแปรสัณฐาน «‘ ™“π’È ¡’ ≈— °…≥–„°≈â ‡§’ ¬ß°— ∫«‘ ™“∏√≥’ «‘ ∑¬“‚§√ß √â “ß¡“° ·µà ·¬° ÕÕ°®“°°— π‰¥â ‚¥¬«‘ ™“∏√≥’ ·ª√ — ≥∞“π®–‡πâ π∑’Ë °“√»÷ °…“≈— °…≥– ‚§√ß √â “ß¢π“¥„À≠à จากที่กล่าวมาข้างต้น คงช่วยให้ผู้อ่านทราบและเข้าใจเหตุผลในการ บัญญัติศัพท์ tectonics และหากท่านมีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบัญญัติศัพท์ คำนี้หรือคำอื่น ๆ คณะกรรมการฯ ยินดีรับฟังเพื่อจะได้นำข้อคิดเห็นของท่าน มาปรับปรุงการบัญญัติศัพท์เพื่อให้สมบูรณ์ขึ้นต่อไป. นางสาวอารี พลดี นักวรร≥ศิลปá ˆ ว กองวิทยาศาสตร์ ธรณีแปรสัณฐาน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=