รวมเล่ม

๓๐ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช, เล่มเดิม , หน้า ๓๙ และระบุว่าเป็นวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๓๙๖ ซึ่งน่าจะคลาดเคลื่อน ควรเป็นวันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๐๔ เมื่อโปรดเกล้าฯ ให้เป็นกรมหมื่นพิฆเนศวรสุรสังกาศ. ราชสกุลวงศ์. ๒๕๕๔, หน้า ๔๒. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๗ 53 วุฒิชัย มูลศิลป์ ภาพที่ ๔ : พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภาพที่ ๕ : พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงยอมรับพระราชประเพณี “มหาชนนิกรสโมสร สมมุต” โดยไม่ได้ตั้งพระราชโอรสเป็นพระมหาอุปราช ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เล่าไว้ใน โครงกระดูก ในตู้ ว่า เมื่อทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ฯ ทรงกรมเป็นกรมหมื่นพิฆเนศ วรสุรสังกาศ “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงกระทำ �สัตย์ปฏิญาณ ต่อพระพุทธปฏิมากรแก้วมรกต แล้วแสดงความในพระราชหฤทัย ว่า ในเวลาต่อไปถ้าเจ้านายทรงกรมเป็นกรมหมื่นสี่พระองค์ คือ กรม หมื่นพิฆเศวรสุรสังกาศ กรมหมื่นบำ �ราบปรปักษ์ กรมหมื่นวรจักรธรา- นุภาพ และกรมหมื่นอักษรสาสนโสภณ พระองค์ใดพระองค์หนึ่งจะ ได้เสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติในกรุงเทพมหานครแล้ว จะมิได้ทรง รังเกียจเดียดฉันท์เลย” ๓๐

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=