รวมเล่ม

๑ ในบทความนี้ใช้คำ �ว่า “มหาชนนิกรสโมสรสมมุต” ตามตัวสะกดสร้อยพระนามในพระสุพรรณบัฏของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว บรรยายในการประชุมสำ �นักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสถาน วันพุธที่ ๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒ ภาคีสมาชิก สำ �นักธรรมศาสตร์และการเมือง ๓ สำ �นักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ (สจช). เอกสาร ร.๕ บ . ๑๔/๑ เรื่องเจ้านายและข้าราชการกราบบังคมทูลความเห็นจัดการ เปลี่ยนแปลงระเบียบราชการแผ่นดิน (๘ ม.ค. จ.ศ. ๑๒๔๖). คงอักขรวิธีตามต้นฉบับ .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๗ 40 “มหาชนนิกรสโมสรสมมุต” : พระราชประเพณี การสืบราชสมบัติสมัยรัตนโกสินทร์ พ.ศ. ๒๓๒๕–๒๔๒๙ ๑ วุฒิชัย มูลศิลป์ ๒ บทคัดย่อ การสืบราชสมบัติสมัยรัตนโกสินทร์มีลักษณะพิเศษประการหนึ่งคือ ขุนนาง พระบรมวงศานุ- วงศ์ และมีพระสงฆ์ผู้ใหญ่เป็นสักขีพยาน ร่วมกันประชุมเลือกเจ้านายที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด ขึ้นครอง ราชสมบัติ พระราชประเพณีนี้กล่าวได้ว่าเริ่มสมัยรัชกาลที่ ๑ และมาชัดเจนที่สุดในการเลือกกษัตริย์ รัชกาลที่ ๓ ที่ ๔ และที่ ๕ ซึ่งทำ �ให้ได้กษัตริย์ที่ทรงทำ �คุณประโยชน์แก่พสกนิกรและบ้านเมืองอย่าง ใหญ่หลวง พระราชประเพณีนี้ยกเลิกไปเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๙ เพราะความไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ใน เวลานั้น คำ �สำ �คัญ : มหาชนนิกรสโมสรสมมุต, การสืบราชสมบัติ สมัยรัตนโกสินทร์ “ต้องมีพระราชประเพณีแน่นอน ที่จะสืบสันตติวงษ์ ที่มิต้องให้พระสงฆ์แล ข้าราชการผู้ เลือกเมื่อเวลาถึงแก่กาล แต่ให้รู้เปนแน่นอนทั่วกัน เพื่อในเวลาถึงคราวเปลี่ยนแผ่นดิน การบ้านเมืองก็จะไม่เปนที่ระส่ำ �รสาย แลเปนทางป้องกันเสนาบดีผู้ ที่จะคิดเอาอำ �นาจเข้าใส่ตัวเองได้ด้วย” ๓ ใหญ่ น้อย หนึ่ง ใด

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=