รวมเล่ม
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๗ 289 วนิดา ขำ �เขียว ๑๐. L’Existentialisme est un Humanisme. (Existentialism is a Humanism) ตีพิมพ์ใน ค.ศ. ๑๙๔๖ ๑๑. Morts sans sépulture (The Victors) ตีพิมพ์ใน ค.ศ. ๑๙๔๖ ๑๒. La Putain respectueuse (The Respectful Prostitute) ตีพิมพ์ใน ค.ศ. ๑๙๔๖ ๑๓. Situations I (Situations) ตีพิมพ์ใน ค.ศ. ๑๙๔๗ ๑๔. Situations II ตีพิมพ์ใน ค.ศ. ๑๙๔๘ ๑๕. Situations III ตีพิมพ์ใน ค.ศ. ๑๙๔๙ ๑๖. Question de Méthode (Question for a Method) ตีพิมพ์ใน ค.ศ. ๑๙๖๐ ๑๗. Critique de la Raison Dialectique (Critique of Dialectical Reason) ตีพิมพ์ใน ค.ศ. ๑๙๖๐ ๑๘. Les Mots (the Words) ตีพิมพ์ใน ค.ศ. ๑๙๖๓ ๑๙. Situations IV, V และ VI ตีพิมพ์ใน ค.ศ. ๑๙๖๔ ๒๐. Situations VII ตีพิมพ์ใน ค.ศ. ๑๙๖๕ ๒๑. L’Idiot de la Famille. V. 1 และ V. 2 (The Idiot of the Family) ตีพิมพ์ใน ค.ศ. ๑๙๗๑ ๒๒. Situations VIII และ IX ตีพิมพ์ใน ค.ศ. ๑๙๗๒ ๒๓. L’Idiot de la Famille V. 3 ตีพิมพ์ใน ค.ศ. ๑๙๗๒ ๒๔. Situations X ตีพิมพ์ใน ค.ศ. ๑๙๗๖ ๖ ทั้งหมดนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งในผลงานมากมายของซาทร์ ซึ่งมีทั้งปรัชญา วรรณคดี เรื่องสั้น และบทละครโดยเฉพาะวรรณกรรมและบทละครนั้นสามารถอธิบายความคิดทางปรัชญาของ ซาทร์ได้ชัดเจนซึ่งทำ �ให้คนทั่วโลกได้รู้จักซาทร์ในฐานะนักอัตถิภาวนิยมคนสำ �คัญที่มีความเชื่อมั่นใน ศักยภาพของความเป็นมนุษย์และเชื่อมั่นว่ามนุษย์สามารถกำ �หนดวิถีชีวิตของตนเองได้ ความเป็นอัตถิภาวนิยม (Existentialism) ของซาทร์ ซาทร์มีแนวคิดที่ไม่เชื่อในอำ �นาจอันศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่เหนือมนุษย์จึงไม่ยอมรับในคุณค่าของ ศาสนาว่ามีอยู่จริง แต่มนุษย์เท่านั้นที่เป็นผู้บัญญัติหลักการและคุณค่าของศาสนา ถึงแม้ว่าธรรมชาติ ของความเป็นมนุษย์จะมีกิเลส ตัณหา ราคะ แต่ซาทร์เชื่อว่ามนุษย์มีความคิด มีจินตนาการ และมี เสรีภาพต่อการตัดสินใจ มนุษย์มีอยู่และต้องเผชิญหน้ากับสิ่งต่าง ๆ ด้วยตัวของมนุษย์เอง เราจะ เห็นได้ว่าทัศนะแบบนี้เป็นการแสดงออกซึ่งแนวคิดอัตถิภาวนิยมแบบอเทวนิยมที่กระตุ้นให้มนุษย์ ๖ Priest, Stephen. Jean-Paul Sartre : Basic Writings. 2001, pp. 334-337.
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=