รวมเล่ม
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๗ 19 ปิยนาถ บุนนาค สืบเนื่องมาจากพระเมตตาและพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถได้เสด็จ เยี่ยมเยียนประชาชนในทุกพื้นที่ของราชอาณาจักรไทยจึงทำ �ให้ทรงรับรู้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น กับพสกนิกรของพระองค์ในทุกพื้นที่อย่างแท้จริง นับตั้งแต่เรื่องสุขภาพอนามัย เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ที่ดิน แหล่งน้ำ �ฯลฯ ทรงสร้างสมพระคลังข้อมูลด้วยการคอยหารือคอยช่วยเหลือและ พัฒนาด้วยพระองค์เอง ทรงมีพระราชหฤทัยมุ่งมั่นที่จะแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของราษฎร เสมือนหนึ่งเป็นความทุกข์ของพระองค์และทรงมีปณิธานที่จะพระราชทานความช่วยเหลือเพื่อ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าเป็นการด่วน จึงทรงสนพระราชหฤทัยด้านการพัฒนาที่ดิน แหล่งน้ำ �และ การพัฒนาด้านการเกษตรด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้คนไทยในชนบทสามารถช่วยเหลือตนเองให้ พออยู่พอกินและมีฐานะมั่นคง พระองค์พระราชทาน “โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ �ริของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” นับว่าเป็นโครงการที่พระราชทานให้เป็นแบบอย่างแก่พสกนิกรชาว ไทยทั่วทุกภาคของประเทศ โดยส่วนใหญ่จะเป็นการพัฒนาด้านการเกษตร ซึ่งพระองค์ได้ให้ความ สำ �คัญเป็นอย่างยิ่งเพราะมีพระราชวินิจฉัยว่าพื้นฐานส่วนใหญ่ของประเทศต้องอาศัยภาคเกษตร เป็นกำ �ลังผลิตที่สำ �คัญ ซึ่งจะทอดทิ้งไม่ได้ดังพระบรมราโชวาทของพระองค์ตอนหนึ่งว่า ๓๒ คณะกรรมการอำ �นวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญา จังหวัดสตูล. (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว, ๒๕๔๒), หน้า ๒๘๔. คณะกรรมการอำ �นวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดยะลา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว, ๒๕๔๔. คณะกรรมการอำ �นวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดสงขลา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว, ๒๕๔๕. คณะกรรมการอำ �นวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดสตูล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว, ๒๕๔๒. “...ทุกวันนี้ แม้ประเทศของเราจะพัฒนาด้านอุตสาหกรรม ไปมากแล้วก็ตาม แต่การเกษตรก็มีความสำ �คัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน จะละเลยทอดทิ้งมิได้. ดังนั้น จึงจำ �เป็นที่จะต้องค้นคิดหาแนวทาง ปฏิบัติการเกษตรที่เหมาะสมกับสภาวการณ์อยู่เสมอ เพื่อช่วยให้ เกษตรของเราได้มีผลผลิตที่เพียงพอเลี้ยงตัว และมีฐานะความเป็นอยู่ ที่สุขสบายพอควรแก่อัตภาพ…” ๓๒
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=