รวมเล่ม

.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๗ 159 มนัส สุวรรณ ๒. เหตุปัจจัยที่มนุษย์มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่สำ �คัญประกอบด้วย การบุกรุกทำ �ลายพื้นที่ป่าไม้ การบุกรุกทำ �ลายพื้นที่ป่าไม้ไม่ว่าด้วยวัตถุประสงค์เพื่อ ต้องการผลผลิตจากป่าหรือเพื่อขยายพื้นที่เพาะปลูกคือ การทำ �ลายถิ่นที่อยู่อาศัย แหล่งอาหาร และ แหล่งขยายพันธุ์ของพืชและสัตว์ การเกษตรเชิงอุตสาหกรรม (industrial agriculture) การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการที่เพิ่มขึ้นตามจำ �นวนประชากร จำ �เป็นต้องนำ �เทคโนโลยีหลาย ลักษณะ เช่น การใช้เครื่องจักรกล การใช้สารเคมี การปลูกพืชเชิงเดี่ยวแบบฟาร์มขนาดใหญ่ (mono-cropping) มาใช้ เทคโนโลยีดังกล่าวมีความท้าทายสูงมากต่อการสูญพันธุ์ของพืชและสัตว์ ประจำ �ถิ่นที่มีขีดความอดทนต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมต่ำ � การพัฒนาสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และสิ่งก่อสร้าง ในกระบวนการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพื่อความอยู่ดีและกินดีของประชาชน กิจกรรมอย่างหนึ่งที่ต้องมี การดำ �เนินการอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้คือ การสร้างสิ่งอำ �นวยความสะดวกสบาย เช่น ระบบไฟฟ้า น้ำ �ประปา ระบบเครือข่ายการคมนาคม-ขนส่ง การสร้างเขื่อน การสร้างโรงงาน เหล่านี้ล้วนมีผลทำ �ให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศเดิม ซึ่งแน่นอนว่าจะมีผลเชื่อมโยงไปถึงการดำ �รงชีวิตของพืชและ สัตว์ที่เป็นโครงสร้างสำ �คัญของความหลากหลายทางชีวภาพ การนำ �พืชและ/หรือสัตว์ต่างถิ่น (exotic species) เข้าไปในพื้นที่ การนำ �พืชหรือ สัตว์จากต่างถิ่นเข้าไปในชุมชนหรือระบบนิเวศอื่นใดก็ตามคือ เหตุปัจจัยสำ �คัญอย่างหนึ่งของการ สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ พืชและสัตว์จากต่างถิ่นโดยธรรมชาติจะมีความสามารถในการ ปรับตัวเพื่อการอยู่รอดสูง พืชและสัตว์เหล่านี้จะมีการขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว ด้วยความสามารถ ในการแข่งขันเพื่อความจำ �เป็นสำ �หรับชีวิตที่สูงกว่าพืชและสัตว์ประจำ �ถิ่น สิ่งมีชีวิตเหล่านี้สามารถ ทำ �ให้สิ่งมีชีวิตพื้นถิ่นสูญพันธุ์ได้ ๑๔ การใช้ประโยชน์จากธรรมชาติมากเกินไปของมนุษย์ (over exploitation) การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมากเกินกว่าความสามารถใน การรองรับ (carrying capacity) เช่น กรณีของการท่องเที่ยว การประมง และ/หรือ การเหมืองแร่ คือ การทำ �ลายสมดุลทางธรรมชาติทางหนึ่ง ผลที่ตามมาจากการกระทำ �ดังกล่าวคือ พืชและสัตว์ที่ได้ รับผลกระทบไม่สามารถฟื้นสภาพได้ทันตามธรรมชาติซึ่งอาจนำ �ไปสู่การสูญพันธุ์ในที่สุด ๑๔ Cunningham, 1999

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=