รวมเล่ม

สถานศึกษา (สำ �นักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ : ๒๕๔๔; สถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ เพื่อคุณภาพการศึกษา : ๒๕๔๗; สุวิมล ว่องวาณิช : ๒๕๔๓; ประวิต เอราวรรณ์ : ๒๕๕๑; วชิราวุธ วิทยาลัย : ๒๕๕๖) แนวทางที่ ๗ “การวางแผน การกำ �กับดูแล และนิเทศระบบประกันคุณภาพการศึกษา” การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาจำ �เป็นต้องมีการวางแผน การดำ �เนินงาน และการนำ � เสนอที่เป็นระบบเพื่อให้เกิดความสำ �เร็จในการขับเคลื่อนและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา (สำ �นักงาน คณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ : ๒๕๔๔; สถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้เพื่อคุณภาพการศึกษา : ๒๕๔๗; สุวิมล ว่องวาณิช : ๒๕๔๓; ประวิต เอราวรรณ์ : ๒๕๕๑; วชิราวุธวิทยาลัย: ๒๕๕๖) แนวทางที่ ๘ “การพัฒนาทรัพยากรบุคคลมืออาชีพและการสร้างขวัญกำ �ลังใจในการ ปฏิบัติงาน” ครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลสำ �คัญที่จะขับเคลื่อนระบบประกันคุณภาพ การศึกษา และก่อให้เกิดความสำ �เร็จในการพัฒนานักเรียน ทุกคนควรได้รับการพัฒนาแนวคิดเชิง ยุทธศาสตร์ การคิดเชิงระบบ การจัดระบบงาน และการทำ �งานเป็นทีม รวมทั้งระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในของสถานศึกษา ถ้าสถานศึกษามีการพัฒนาบุคลากรตามแนวคิดเช่นนี้ ก็สามารถเชื่อถือได้ว่า บุคลากรทุกคนจะเป็นผู้ทำ �งานประกันคุณภาพและเป็นผู้ขับเคลื่อนระบบ ประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาไปสู่ความสำ �เร็จร่วมกัน (สถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ เพื่อคุณภาพการศึกษา : ๒๕๔๗; สุวิมล ว่องวาณิช : ๒๕๔๓; ประวิต เอราวรรณ์ : ๒๕๕๑; Hattie, J: 2009; Barber, M: 2009; วชิราวุธวิทยาลัย : ๒๕๕๖) แนวทางที่ ๙ “การวิจัยและประเมินเชิงระบบ” ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถาน ศึกษา ควรได้รับการศึกษาวิจัย พัฒนา และประเมินเชิงระบบ เมื่อนำ �ผลที่ได้มาพัฒนาปรับปรุงระบบ ประกันคุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานอยู่เสมอ การวิจัยพัฒนาและประเมินเชิง ระบบจะช่วยให้การขับเคลื่อนระบบประกันคุณภาพสู่ความสำ �เร็จในการพัฒนาคุณภาพสู่ความสำ �เร็จ ในการพัฒนาคุณภาพนักเรียนและโรงเรียนและสถานศึกษา (สุวิมล ว่องวาณิช : ๒๕๔๓; สถาบันวิจัย และพัฒนาการเรียนรู้เพื่อคุณภาพการศึกษา : ๒๕๔๗; ประวิต เอราวรรณ์ : ๒๕๕๑, วชิราวุธวิทยาลัย : ๒๕๕๖) แนวทางที่ ๑๐ “การจัดการเครือข่าย” การจัดการเครือข่ายประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษาหมายถึง การที่บุคคล องค์กร หน่วยงาน หรือสถาบันใด ๆ ได้ตกลงที่จะสนับสนุนเชื่อม โยงเข้าหากันภายใต้วัตถุประสงค์หรือข้อตกลงอย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกันอย่างเป็นระบบ เช่น การ ดำ �เนินการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพภายในสู่ความสำ �เร็จ กลุ่มเครือข่ายนี้ต้องมีการแสดงออก .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๗ 144 แนวทางสู่ความสำ �เร็จในการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=