รวมเล่ม

แนวทางที่ ๓ “การกำ �หนดเจ้าภาพหรือผู้รับผิดชอบ” ในการดำ �เนินการประกันคุณภาพ ในของสถานศึกษาโดยบุคลากรของสถานศึกษาที่ร่วมกันทำ �งานเป็นทีม จำ �เป็นต้องมีผู้ทำ �หน้าที่ รับผิดชอบประสานบริหารจัดการ กำ �กับติดตามดำ �เนินงานอย่างเป็นระบบ เพื่อให้มีความมั่นใจใน ความสำ �เร็จอย่างมีประสิทธิภาพ มีความต่อเนื่องและยั่งยืน (สำ �นักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ : ๒๕๔๔ ; สถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้เพื่อคุณภาพการศึกษา : ๒๕๔๗; สุวิมล ว่องวาณิช : ๒๕๔๓; ประวิต เอราวรรณ์ : ๒๕๕๑; วชิราวุธวิทยาลัย : ๒๕๕๖) แนวทางที่ ๔ “การมีส่วนร่วม และการปรึกษาหารือกับผู้ที่เกี่ยวข้อง” การประกันคุณภาพ ภายใน นอกจากต้องทำ �งานกันเป็นทีมระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษาแล้ว ยังต้องทำ �งานร่วมกับ บุคคลและองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องจากภายนอก จากการวิจัยพบว่า โอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียน รู้จากโรงเรียนอื่น ๆ และการมีผู้นำ �พาการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกโรงเรียน เป็นปัจจัยของความ สำ �เร็จในการพัฒนาโรงเรียน ดังนั้น การระดมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา จึงมีความสำ �คัญและเป็นเงื่อนไขที่จำ �เป็นต่อความสำ �เร็จในการนำ �ระบบประกันคุณภาพ การศึกษาสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิผลและเกิดประสิทธิภาพ (สำ �นักงานคณะกรรมการศึกษาแห่ง ชาติ : ๒๕๕๕ ; สถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้เพื่อคุณภาพการศึกษา : ๒๕๔๗; สุวิมล ว่องวาณิช : ๒๕๔๓; ประวิต เอราวรรณ์ : ๒๕๕๑, วชิราวุธวิทยาลัย: ๒๕๕๖: Hattie, J: 2009; Barber, M: 2009) แนวทางที่ ๕ “การสร้างความตระหนัก และความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกัน คุณภาพ” ความตระหนักและความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในว่า เป็นภารกิจการทำ �งานปรกติของทุกคน เป็นเงื่อนไขที่จำ �เป็นต่อการทำ �งานเป็นทีมที่เข้มแข็ง และ ต่อความสำ �เร็จของระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา (สำ �นักงานคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ : ๒๕๔๕; สถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้เพื่อคุณภาพการศึกษา : ๒๕๔๗ และ วชิราวุธวิทยาลัย : ๒๕๕๖) แนวทางที่ ๖ “การบูรณาการการประกันคุณภาพกับการบริหารจัดการศึกษา และการ ปฏิบัติงานปรกติ” เพื่อให้เป็นไปตามหลักวิชาการและสาระบัญญัติตามที่กฎหมายกำ �หนดให้การ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการศึกษา และการปฏิบัติงาน ปรกติของทุกคนโดยมีผู้บริหารเป็นผู้นำ �ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จึงจำ �เป็นต้องมีแนวทางหรือ กลยุทธ์สำ �คัญในการบูรณาการการประกันคุณภาพการศึกษากับการบริหารจัดการศึกษาและการ ปฏิบัติงานปรกติ ซึ่งเป็นเงื่อนไขที่จำ �เป็นของความสำ �เร็จในการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของ .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๗ 143 สมหวัง พิธิยานุวัฒน์

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=