รวมเล่ม

จากตารางที่ ๔ สามารถสรุปเป็นแนวทางหรือกลยุทธ์สำ �คัญ (๔ ใน ๖ แหล่ง) ในการพัฒนา และขับเคลื่อนสู้ความสำ �เร็จของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้ ดังนี้ แนวทางที่ ๑ “ภาวะผู้นำ �ของผู้บริหารและผู้นำ �การเปลี่ยนแปลง” เป็นที่ประจักษ์ชัดเจน ผู้บริหารเป็นปัจจัยที่สำ �คัญของการพัฒนาคุณภาพสู่ความสำ �เร็จ (สุวิมล ว่องวาณิช: ๒๕๔๓; ประวิต เอราวรรณ์ : ๒๕๕๑ สำ �นักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ : ๒๕๔๔; Hattie, J: 2009; Barber, M: 2009; Cheng, K.M.: 2011; วชิราวุธวิทยาลัย : ๒๕๕๖) ทั้งนี้ เพราะการพัฒนาคุณภาพในสถาน ศึกษาเป็นส่วนของการบริหารและการจัดการศึกษาของผู้บริหาร อย่างไรก็ดี เพื่อให้เกิดความสำ �เร็จ ในการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพจึงเป็นหน้าที่ของทุก ๆ คนในสถานศึกษาโดยมีผู้บริหาร เป็นผู้นำ �ในการมีส่วนร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติตามแผน และร่วมกันติดตามประเมิน ผู้บริหารมีภาวะ ผู้นำ �การเรียนรู้ ผู้นำ �คุณภาพและผู้นำ �เปลี่ยนแปลง ย่อมจะส่งเสริมสนับสนุนให้ระบบการประกัน คุณภาพของสถานศึกษาสู่ความสำ �เร็จในการสร้างวัฒนธรรมคุณภาพในสถานศึกษา แนวทางที่ ๒ “การทำ �งานเป็นทีมและการเรียนรู้โดยการทำ �งานเป็นทีม” ทั้งนี้ เพราะการ ประกันคุณภาพในของสถานศึกษาเป็นภารกิจของบุคลากรทุกคนภายใต้การนำ �ของผู้บริหารที่ต้องทำ � ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง การทำ �งานทำ �ให้เกิดการเรียนรู้และเป็นทีมที่เข็มแข็ง ซึ่งจะทำ �ให้การประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษามีความต่อเนื่องและยั่งยืน (สำ �นักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ : ๒๕๔๔; สุวิมล ว่องวาณิช: ๒๕๔๓ Hattie, J: 2009; Barber, M: 2009; Cheng, K.M.: 2011; วชิราวุธวิทยาลัย : ๒๕๕๖) .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๗ 142 แนวทางสู่ความสำ �เร็จในการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=