รวมเล่ม

ศึกษาวชิราวุธวิทยาลัย มิใช่เป็นการตรวจสอบจับผิด โดยมีเป้าหมายสำ �คัญอยู่ที่การพัฒนาคุณภาพ ให้เกิดขึ้นแก่นักเรียนตามพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ๒) การ ทำ �ให้การประกันคุณภาพการศึกษาของวชิราวุธวิทยาลัย เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการและ การทำ �งานของบุคลากรทุกคนในวชิราวุธวิทยาลัย มิใช่เป็นกระบวนการที่แยกส่วนมาจากการดำ �เนิน งานปรกติ โดยวชิราวุธวิทยาลัยได้กำ �หนดมาตรฐานการศึกษาวชิราวุธวิทยาลัย แล้วใช้เป็นเป้าหมาย ของแผนกลยุทธ์และแผนงานประจำ �ปีของวชิราวุธวิทยาลัยและของหน่วยงานรวมทั้งการทำ �งาน ของบุคลากรทุกคนของวชิราวุธวิทยาลัย ทำ �ตามแผน ตรวจสอบประเมินผล และปรับปรุงพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง เป็นระบบที่มีส่วนร่วม มีความโปร่งใส และมีจิตสำ �นึกในการพัฒนาคุณภาพการทำ �งาน เพื่อคุณภาพของนักเรียน กล่าวคือ การประกันคุณภาพการศึกษาของวชิราวุธวิทยาลัยเป็นเรื่องของ “ฉันทะ” มิใช่ “ภาระ” และจะนำ �ไปสู่มาตรฐานการศึกษาที่มุ่งหวังร่วมกัน และ ๓) การประกัน คุณภาพการศึกษาของวชิราวุธวิทยาลัยเป็นหน้าที่ของบุคลการทุกคนในวชิราวุธวิทยาลัยไม่ว่าเป็น ผู้บริหาร ครู และบุคลากรอื่น ๆ ในวชิราวุธวิทยาลัย โดยการดำ �เนินงานการประกันคุณภาพการ ศึกษาของวชิราวุธวิทยาลัยจะต้องให้ผู้เกี่ยวข้อง เช่น นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน สำ �นักงานเขตพื้นที่ การศึกษาหรือสำ �นักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ซึ่งมีหน้าที่กำ �กับดูแลเข้ามามีส่วนร่วมใน การกำ �หนดมาตรฐานการศึกษาซึ่งเป็นเป้าหมายการจัดการศึกษา วางแผน ตรวจสอบ ติดตาม และ ประเมินผล เพื่อปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ช่วยกันคิด ช่วยกันทำ � ช่วยกันขับเคลื่อนให้วชิราวุธ วิทยาลัยเป็นโรงเรียนประจำ �มาตรฐานโลกชั้นนำ � เป็นไปตามพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และความต้องการของผู้ปกครอง สังคม และประเทศชาติ ระบบและกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษาของวชิราวุธวิทยาลัยประกอบด้วย ๓ ระบบ ๔ กระบวนการ ตามแนวคิดของการประกันคุณภาพจำ �แนกเป็น ๓ ระบบคือ ๑) ระบบ การควบคุมคุณภาพ เป็นการกำ �หนดมาตรฐานการศึกษาวชิราวุธวิทยาลัยเพื่อพัฒนาวชิราวุธ วิทยาลัยให้เข้าสู่มาตรฐานสากล ๒) ระบบการตรวจสอบคุณภาพ เป็นการตรวจสอบและติดตามผล การดำ �เนินงานของวชิราวุธวิทยาลัยให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำ �หนด และ ๓) ระบบการประเมิน คุณภาพ เป็นการประเมินคุณภาพการศึกษาของวชิราวุธวิทยาลัยโดยบุคลากรของวชิราวุธวิทยาลัย และสำ �นักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน รวมทั้งสำ �นักงานเขตพื้นที่การศึกษาโดยเปรียบเทียบ กับมาตรฐานการศึกษาวชิราวุธวิทยาลัย เพื่อปรับปรุงพัฒนาวชิราวุธวิทยาลัยให้ได้มาตรฐานและมี คุณภาพยิ่งขึ้น .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๗ 129 สมหวัง พิธิยานุวัฒน์

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=