ปี-39-ฉบับที่-3
วั ฒนธรรมการสร้างและที่ มาของแนวความคิ ดของวรรณกรรมทั กษิ ณ 278 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 39 No. 3 Jul-Sep 2014 วรรณกรรมทักษิณเรื่อง พระปรมัตถ์ ค� ำกาพย์ มีค� ำกล่าวที่ช่วยยืนยันความข้อนี้ได้ อย่างดี “เพราะว่าปัญญา รู้พิจารณา นากว้างใหญ่หลวง ค่อยไถค่อยหว่าน นานไปจะได้รวง สร้างเกียนใหญ่หลวง ซังแต่จะเข็นเอา วานแขกอย่างน้อย ย่อมนับด้วยร้อย ถ้วนทุกล� ำเนา เลี้ยงดูขูขี ให้ช่วยเข็นเอา ไม่สูญไม่เปล่า เพราะนาลงดี” เอกสารอ้างอิง ชวน เพชรแก้ว. (๒๕๕๑). “กาหลอ” ใน ลักษณะไทย ศิลปะการแสดง. (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนา จ� ำกัด. .(๒๕๔๘). วรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรมคัดสรร. กรุงเทพฯ : ส� ำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.) และมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. .(๒๕๔๓). หนังตะลุงในประเทศไทย. สุราษฎร์ธานี : โรงพิมพ์อุดมลาภ. .(๒๕๓๒). วรรณกรรมท้องถิ่นจากหนังสือบุด. สุราษฎร์ธานี : วิทยาลัยครูสุราษฎร์ธานี. ชวน เพชรแก้ว และคณะ. (๒๕๔๗). วรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรมปริทัศน์. กรุงเทพฯ : ส� ำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). .(๒๕๔๐). วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ : สถานภาพการศึกษาและแหล่งสืบค้น. นครศรีธรรมราช : โรงพิมพ์ ไทม์ พริ้นติ้ง . พิทยา บุษรารัตน์ และชัยวุฒิ พิยะกูล. (๒๕๔๓). พระเจ้าห้าพระองค์ ฉบับวัดเลียบ อ� ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา. สงขลา : สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ. สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์. (๒๕๔๗). “แหล่งที่มาและพลวัตด้านแนวความคิด เนื้อเรื่อง และบริบทอื่น ๆ ของ วรรณกรรมทักษิณ”. ใน วรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรมคัดสรร. กรุงเทพฯ : ส� ำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.). .(๒๕๔๒). “วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้” ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคใต้ เล่ม ๑๔. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์. สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ และชวน เพชรแก้ว. (๒๕๔๗). วรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรมพินิจ. กรุงเทพฯ : ส� ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว).
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=