ปี-39-ฉบับที่-3
197 ประคอง นิ มมานเหมิ นท์ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๗ เอกสารอ้างอิง กนกวรรณ ชัยทัต. “ประวัติศาสตร์ของตัวเขียนโบราณไทอาหม” ใน ด้วยรัก : ชนชาติไท . รวมบทความใน โอกาสศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา อายุ ๗๒ ปี ส� ำนักพิมพ์สร้างสรรค์ กรุงเทพฯ : บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์, หน้า ๕๗-๗๗. ประเสริฐ ณ นคร. “ที่มาของอักษรไทยล้านนาและไทลื้อ” ใน นิยะดา เหล่าสุนทร, บรรณาธิการ สารนิพนธ์ประเสริฐ ณ นคร จัดพิมพ์เผยแพร่โดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ : บริษัทชนนิยม จ� ำกัด ๒๕๔๑, หน้า ๗๔-๙๒ เรณู วิชาศิลป์. การศึกษาอักษรและเอกสารโบราณของไท. ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. มปพ. มปป. . “อักษรธรรมในเขตลุ่มน�้ ำโขงและสาละวิน” ฮอมผญา ๓๐ ปี มจร.วิทยาเขตเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสมหามงคล ครบรอบ ๓๐ ปีแห่งการสถาปนา พุทธศักราช ๒๕๕๗, หน้า ๓๙-๖๖. สมพงษ์ วิทยศักดิพันธุ์. ต้นเค้าก� ำเนิดและวิวัฒนาการของอักษร และอักขรวิธีไท. ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มิถุนายน ๒๕๔๒ Yin Shaoting and Christian Daniels, Editors-in-Chief. A Synopsis of Dai Old Manuscripts in Gengma County of Yunnan, China. The Nationalities Publishing House of Yunnan, 2005. Yin Shaoting, Christian Daniels, Kuai Yongsheng and Yue Xiaobao. A Synopsis of Tay (Chinese Shan) Old Manuscripts in the Dehong Autonomous Region of Yunnan, China. The Nationalities Publishing House of Yunnan, 2002.
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=