ปี-39-ฉบับที่-3

175 กาญจนา นาคสกุล วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๗ ในภาษาพูดและภาษาเขียน ส่วนค� ำที่ไม่เป็นทางการใช้เฉพาะในภาษาพูด ค� ำนั้น ๆ อาจเป็นค� ำที่แสดง ความสนิทสนม เป็นกันเอง ใช้อย่างย่อ หรือใช้ผิดเพี้ยนไปจากค� ำน� ำหน้าชื่อที่ใช้ในภาษาทางการ ความสัมพันธ์ที่บุคคลมีต่อกันและสถานการณ์ เป็นตัวก� ำหนดการใช้ค� ำน� ำหน้าชื่อ ๔. การใช้ค� ำน� ำหน้าชื่อบุคคลที่มีหลายค� ำ ในทางการบุคคลคนหนึ่ง ๆ อาจมีค� ำน� ำหน้าชื่อหลายค� ำ การเรียงค� ำน� ำหน้าชื่อนั้น ๆ นิยมจัด ล� ำดับตามความส� ำคัญและความสัมพันธ์ที่มีกับเจ้าของชื่อ ดังนี้ ก) ค� ำน� ำหน้าพระนามพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ ค� ำแสดงพระอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดชฯ สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ ค� ำแสดงความเป็นพระประยูรญาติกับพระมหากษัตริย์ เช่น สมเด็จ พระราชชนนี ศรีสังวาลย์ สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จ พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี สมเด็จ พระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ค� ำแสดงพระสกุลยศหรือพระอิสริยยศ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้า มหาจักรีสิรินธร พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า พัชรกิติยาภา พระราชวงศ์ทุกพระองค์จะมีค� ำน� ำหน้าพระนามเพื่อบ่งบอกพระอิสริยยศ ค� ำแสดงความเป็น พระประยูรญาติหรือความสัมพันธ์ที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์และพระสกุลยศ ปัจจุบัน มีการใช้ค� ำน� ำ หน้าพระนามที่แสดง ต� ำแหน่งทางวิชาการ ยศทางทหาร และวุฒิการศึกษา นอกเหนือจากค� ำแสดง พระอิสริยยศตามปรกติด้วย เช่น พลเอก สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ พลตรี หม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรี

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=