ปี-39-ฉบับที่-3

ความเกี่ ยวข้องกั นของศิ ลปะประเภทรมยศิ ลป์ 154 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 39 No. 3 Jul-Sep 2014 จิตรกรรมซึ่งพูด” (painting is mute poetry, poetry a speaking picture) และค� ำพูดที่ (นักวรรณคดี วิจารณ์ว่า) มีอิทธิพลมากที่สุดในการกล่าวถึงความเหมือนของจิตรกรรมกับวรรณคดี คือค� ำเปรียบเทียบ ของฮอเรซ (Horace) กวีชาวโรมัน (๖๕-๘ ก่อนคริสต์ศักราช) ที่ว่า Ut pictura poesis: erit quae, si propias stes, te capiat magis, et quaedam, si longiusabstes (That is, some pictures are murals, and some minatures-and so with poems) (กวีนิพนธ์ก็เช่นเดียวกับภาพเขียน ซึ่งบ้างก็เป็นจิตรกรรมฝาผนัง บ้างก็เป็นภาพจิ๋ว) ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๖ และ ๑๗ ได้เกิดทฤษฎีว่าด้วยความเหมือนกันของจิตรกรรมกับ วรรณคดี ทั้งนี้ ชาร์ล อัลฟองส์ ดู เฟรสนัว (Charles Alphonse Du Fresnoy) จิตรกรชาวฝรั่งเศส ได้กล่าวย�้ ำค� ำเปรียบเทียบของไซมอนิดิสและฮอเรซไว้ในเรื่อง De Arte Graphica ซึ่งเขียนเป็นภาษา ละติน ว่า Ut picture poesis erit; similisque Poesi Sit Pictura; ... ...muta Poesis Dicitur baec, Pictura loquens solet illa vocari. ไดรเดน (Dryden) กวีชาวอังกฤษ (ค.ศ. ๑๖๓๑-๑๗๐๐) ได้แปลกวีนิพนธ์นี้เป็นภาษาอังกฤษใน ค.ศ. ๑๖๙๕ ว่า A poem is like a picture; so a picture ought to try to be like a poem. . . . a picture is often called silent poetry; and poetry a speaking picture. (กวีนิพนธ์เหมือนกับภาพเขียน ดังนั้นภาพเขียนก็ควรพยายามให้เหมือนกวีนิพนธ์ … ภาพเขียนมักเรียกกันว่ากวีนิพนธ์เงียบ และกวีนิพนธ์ก็มักเรียกกันว่าภาพเขียนซึ่งพูดได้) ๔. วรรณคดีกับดนตรี ศิลปะอีกประเภทหนึ่งได้แก่ดุริยางคศิลป์ คือ ดนตรีและการขับร้อง วรรณคดีกับดนตรีเหมือน กันหลายอย่าง กล่าวคือ

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=