ปี-39-ฉบับที่-3

นาฏยทฤษฎี 116 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 39 No. 3 Jul-Sep 2014 ๙.๓.๔ ปิณธิพันธะ ท่าร� ำหลายองคาหระเป็นร� ำชุด ๙.๔ คุณลักษณะของการฟ้อนร� ำ ๙.๔.๑ ตานฑวะ คือ การร� ำด้วยท่าทางที่รุกร้นรุนแรงดุดัน เช่นการร� ำท่ายักษ์และ ลิงในโขน ๙.๔.๒ ลัศยะ คือ การร� ำด้วยท่าทางที่อ่อนโยนเช่นการร� ำของตัวพระและนางของ ละครใน ๑๐. เสียงและค� ำพูด ๑๐.๑ อธิภาษา ภาษาของมหาบุรุษ ๑๐.๒ อารยะภาษา ภาษาของผู้ทรงเกียรติ์ ๑๐.๓ ชาติภาษา ภาษาของสามัญชน ๑๐.๔ ยูนยันตรีภาษา ภาษาของสัตว์ ๑๑. ดนตรี ๑๑.๑ สวาระ คือ เสียงที่เกิดจากมนุษย์ ๑๑.๒ อาโตธยะ คือ เสียงจากเครื่องดนตรี ๔ ประเภท คือ เครื่องสาย เครื่องเป่า เครื่อง จังหวะ เครื่องตี ๑๑.๓ ปฏะ คือ เสียงผสมของมนุษย์ คือเนื้อร้องหรือธุรวากับเสียงดนตรี เรื่องดนตรีนี้มี ทฤษฎีย่อยอีกมาก ๑๒. โรงละคร ๑๒.๑ ประเภทของเวที ตรัยศระ (สามเหลี่ยมด้าน) จตุรัศระ (สี่เหลี่ยมจัตุรัส) วิกฤษตะ (สี่เหลี่ยมผืนผ้า) ๑๒.๒ ขนาดของโรงละคร ชเยษฐะ (ใหญ่) มัธยมะ (กลาง) ขนิษฐะ(เล็ก) ๑๒.๓ การก่อสร้างและการแบ่งพื้นที่โรงละคร ที่นั่งคนดู เวที กรอบเวที ที่พักคอยแสดง ประตูผู้แสดงเข้าออก ฉาก การระบายอากาศ ระบบเสียง ๑๒.๔ พิธีสร้างโรงละครและเวที ๑๓. ความส� ำเร็จของการแสดง ขึ้นอยู่กับปัจจัย ๔ ประการ ๑๓.๑ ความส� ำเร็จของการแสดง ปาตระ คือ ความสามารถของผู้แสดง ประยูรกะ คือ ความเหมาะสมของส่วนประกอบการแสดง สัมฤทธิ คือ ความงดงามของการประดับตกแต่งการแสดง

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=