ปี-39-ฉบับที่-3

115 สุรพล วิ รุฬห์รั กษ์ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๗ ๗.๑.๔ อวมรศะ คือ นายกะตกอยู่ในสถานการณ์ที่ล� ำบาก ต้องท� ำการเอาชนะความ ยากล� ำบากเพื่อให้ส� ำเร็จสมปรารถนา ๗.๑.๕ นิรวานะ คือ ความส� ำเร็จสมปรารถนา ๗.๒ สันธยานกะ คือ การจัดโครงสร้างการด� ำเนินเรื่องในแต่ละองก์ตามแบบสันธิ ๗.๓ ลักษณะ คือ ฉันทลักษณ์ ๓๖ แบบที่น� ำมาใช้ให้เหมาะสมกับสถานภาพและ การแสดงออกของตัวละครนั้น ๆ ๘. การแสดงออก ๘.๑ วฤติ คือ หลักการแสดงออก ๔ วิธี ๘.๑.๑ ภารตีวฤติ การใช้วาจา ๘.๑.๒ สาตวตีวฤติ การจ� ำลองตัวละครทั้งบุคคลิกและอารมณ์ ๘.๑.๓ ไกศิกีวฤติ การใช้ความประณีตอย่างสตรีเพศ ๘.๑.๔ อารภตีวฤติ การใช้ความขึงขังอย่างบุรุษเพศ ๘.๒ โลกธรรมี การแสดงแบบสมจริงตามธรรมชาติ ๘.๓ นาฏยธรรมี การแสดงอย่างมีจารีตหรือแบบแผน (สไตล์) ๘.๔ อภินายะ การสื่อความหมายด้วยกาย วาจา อารมณ์ การแต่งกายแต่งหน้า ๙. การฟ้อนร� ำ ๙.๑ ประเภทของการฟ้อนร� ำ ๙.๑.๑ นาฏยะ การฟ้อนร� ำพร้อมกับการแสดงอารมณ์ ๙.๑.๒ นฤตะ การฟ้อนร� ำที่เป็นการเคลื่อนไหวของร่างกายล้วน ๆ (เทคนิค) ๙.๑.๓ นฤตยะ การฟ้อนร� ำที่สื่อความหมาย เป็นประโยคสั้น ๆ ตอนสั้น ๆ หรือเป็น ละครทั้งเรื่อง ๙.๒ การใช้อวัยวะในการฟ้อนร� ำ ๙.๒.๑ อังคะ อวัยวะหลัก คือ ศีรษะ มือ เอว อก แขน ขา เท้า ๙.๒.๒ อุปอังคะ อวัยวะรอง คือ นัยน์ตา คิ้ว จมูก ริมฝีปาก แก้ม คาง ๙.๒.๓ ปรัตยังคะ อวัยวะอื่น ๆ คือ ไหล่ หลัง หน้าท้อง ๙.๓ โครงสร้างของการฟ้อนร� ำ ๙.๓.๑ กรณะ ท่าร� ำ มี ๑๐๘ ท่า เป็นพยัญชนะ ๙.๓.๒ มาตริกะ ท่าร� ำสองมาตริกะ เป็นค� ำ ๙.๓.๓ องคาหระ ท่าร� ำสององคาหระ เป็นวลี

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=