ปี-39-ฉบับที่-3

111 สุรพล วิ รุฬห์รั กษ์ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๗ อถรวเวท เกิดเป็นพระเวทที่ ๕ คือ นาฏยเวท ชึ่งถ่ายทอดออกมาเป็น นาฏยศาสตร อีกชั้นหนึ่ง ส่วน ความเห็นอีกทางหนึ่งคือ นาฏยศาสตราเป็นการพัฒนามาจาก คนธรวเวท ซึ่งเป็นภาคผนวกของสามเวท นอกจากนี้นักทฤษฎีอินเดียในสมัยหลังหลายท่านได้แต่งต� ำราอภิปรายขยายความนาฏยศาสตรออกไป โดยพิสดาร เช่น Matanga’s Brihaddesi, Abhinavagupta's Abhinavabharati, Sharngadeva's Sangita Ratnakara, Vishnu Narayan Bhatkhande’s, Hindustani’s Sangeetha Padhath และ นาฏยศาสตร์ (ต� ำราร� ำ) โดยแสง มนวิทูร (เปรียญ) แปลจากฉบับสันสกฤตเป็นภาษาไทย ๗ จาก ๓๒ อัธยาย (บท) จัดพิมพ์โดยกรมศิลปากร เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๑ แต่ไม่แพร่หลาย นาฏยศาสตรามีเนื้อหาครอบคลุม กิจกรรมต่าง ๆ ของการแสดงละครอย่างละเอียด ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=