ปี-39-ฉบับที่-3
99 เดชา บุญค�้ ำ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๗ และสิ่งที่น่าเสียดายยิ่งที่ควรกล่าวถึง ได้แก่ “คลองผันน�้ ำจาก แม่น�้ ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตกและฝั่งตะวันออก” เพื่อลดปัญหา น�้ ำเหนือบ่าท่วมกรุงเทพฯ ที่สามารถใช้เป็นเส้นทางขนส่งทาง น�้ ำส� ำหรับเรือลากจูงสินค้าหนักส่งออกได้ด้วย ซึ่งหากได้มีการ ขุดคลองทั้งสองสายตามแผนนี้ไว้ ในขณะที่ที่ดินยังรกร้ าง ราคาถูก เหตุการณ์น�้ ำท่วมใหญ่เหมือนปี ๒๕๕๔ และก่อน หน้านั้นคงไม่เสียหายมากเท่านี้ รวมทั้งค่าใช้จ่ายด้านการขนส่ง สินค้าเกษตรส่งออกจะต�่ ำกว่าปัจจุบัน อุปสรรคที่ท� ำให้ผังลิชฟิลด์ เป็นจริงไม่ได้นั้น เกิดจากการขาดนโยบายแห่งชาติระยะยาวที่ มีกฎหมายรองรับ รวมทั้งการขาดหน่วยงานวางแผนกลางคอย ก� ำกับดูแลนั่นเอง ผังประเทศไทย พ.ศ. ๒๖๐๐ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๐ “กรม” โยธาธิการและผังเมืองได้ประกาศใช้ “ผังประเทศไทย พ.ศ. ๒๖๐๐” ซึ่งเป็นแผน “แผนพัฒนาเชิงพื้นที่ระดับชาติระยะ ๕๐ ปี” ที่นับได้ว่าเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ไทย ที่เริ่มมี การวางแผนเชิงพื้นที่ระยะยาวทั้งประเทศตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อปี ๒๕๔๕ ซึ่งขณะนี้เวลาการด� ำเนินแผนได้ลุล่วงมาแล้ว ๗ ปี โดยไม่มีความคืบหน้าที่เห็นเป็นรูปธรรม และยังมีแนวโน้มที่จะ ซ�้ ำรอยเช่นเดียวกับผังลิชฟิลด์ คือ ลัมเหลวจากการขาดกฎหมาย ที่มีประสิทธิภาพในการบังคับใช้ และขาดการดูแลก� ำกับเหตุ จากการไม่มีนโยบายแห่งชาติ กฎหมายผังเมืองปี ๒๕๑๘ ที่ “ผังประเทศไทย” จ� ำต้องใช้เป็นหลักอิงในขั้นยุทธวิธีการท� ำให้ เป็นจริงนั้น แม้จะแก้ไขมาแล้วบ้าง แต่ก็ล้าสมัยตามหลังการ พัฒนาจนไม่มีทางเอื้อให้เกิดความเป็นจริงขึ้นมาได้ นอกจากนี้ ยังเป็นสังเกตได้อีกว่า “ผังประเทศ” ฉบับนี้ให้ความส� ำคัญด้าน ผลกระทบจากปัญหาโลกร้อนน้อยไปดังจะเห็นได้จากต� ำแหน่งของเมืองต่าง ๆ ยังคงให้มีการกระจุกตัวใน พื้นที่ที่น�้ ำเหนือหลากท่วม และในพื้นที่ที่น�้ ำทะเล (ในอนาคต) ท่วมถึง และในพื้นที่ปลูกข้าวชั้นดีของโลก ที่ทับซ้อนกัน (ดูรูปที่ ๒) ภาพที่ ๕ ผังนครหลวง พ.ศ. ๒๕๐๓-๒๕๔๓ แผนพัฒนากรุงเทพฯ และปริมณฑล ๓๐ ปี ที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า “ผังลิชฟิลด์”
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=