วารสารปี-40-ฉบับที่-3-resize

ปัญหาในการตรากฎหมายฝ่ายนิ ติ บั ญญั ติ ของประเทศไทย 372 The Journal of the Royal Society of Thailand Vol. 40 No. 3 Jul-Sep 2015 นอกจากนี้จะต้องมีการลดขั้นตอนในการตรากฎหมายและการแก้ไขกฎหมายลงเหลือเท่าที่เพียงขั้นตอน ที่จ� ำเป็นเพื่อลบความคิดว่าการออกกฎหมายและการแก้ไขกฎหมายในประเทศไทยเป็นเรื่องที่ยากล� ำบาก ท� ำให้การพัฒนาประเทศที่ต้องอาศัยกลไกทางกฎหมายกลายเป็นอุปสรรคที่ส� ำคัญประการหนึ่ง. บรรณานุกรม หนังสือและบทความ ไผทชิต เอกจริยกร. “ประเทศไทยกับการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับกฎหมาย พาณิชยนาวี”, วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี . ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๕ (พฤศจิกายน ๒๕๕๓). ณัฐพงศ์ โปกะบุตร และพรชัย สุนทรพันธ์. หลักกฎหมายเอกชน (Principle of Private Law) . กรุงเทพมหานคร : ส� ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๒. รัฐสิทธิ์ คุรุสุวรรณ. กฎหมายแพ่ง : หลักทั่วไป (Civil Law: General Principles) . พิมพ์ครั้งที่ ๒ กรุงเทพมหานคร : ส� ำนักพิมพ์นิติธรรม, ๒๕๔๘. สมคิด เลิศไพฑูรย์. “ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญกับพระราชบัญญัติในช่วงการยึดอ� ำนาจการปกครอง ประเทศโดยคณะรัฐประหาร”. บทความน� ำเสนอต่อที่ประชุมส� ำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสถาน. วันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘. สมยศ เชื้อไทย. ค� ำอธิบายความรู้กฎหมายทั่วไป . กรุงเทพมหานคร : ส� ำนักพิมพ์วิญญูชน, ๒๕๔๖. ข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ส� ำนักวิชาการ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ, พระราชบัญญัติที่ผ่าน การพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ๒๕๕๐ ..., library2.parliament.go.th/giventake/ law.html. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘. ณัฐนันท์ อิทธิยาภรณ์, เล่นเกม แสดงโวหารกันมาก “วิษณุ” ชี้ ต้นเหตุสภาออกกฎหมายชักช้า, ส� ำนักข่าวอิศรา, http://www.isranews.org/thaireform-news-politics/item/15473-2012- 03-09-05-08-21.html, สืบค้นวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๘.

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=