วารสารปี-40-ฉบับที่-3-resize

ความฝันของคนไทยเรื่ องเขตเศรษฐกิ จพิ เศษเพื่ อประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยน 276 The Journal of the Royal Society of Thailand Vol. 40 No. 3 Jul-Sep 2015 วงเงินปี ๒๕๕๘-๒๕๕๙ (ล้านบาท) ตารางที่ ๒ งบประมาณพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและด่านศุลกากรระยะเร่งด่วน ปี ๒๕๕๘-๒๕๕๙ ตาก ๒,๐๕๒ ๓๖๘ ๑๕ ๑,๒๖๐ ๓,๖๙๕ สระแก้ว ๖๑๖ ๖๘๘ ๑๕ ๗๙๓ ๒,๑๑๒ ตราด ๒๐๗ ๑๔๗ ๑๕ ๑๒๖ ๔๙๕ มุกดาหาร ๘๐๖ ๑๐๐ ๑๕ ๙๖๘ ๑,๘๘๙ สงขลา ๑๐ ๑,๔๓๖ ๑๕ ๗๙๑ ๒,๒๕๒ (สะเดาและ ปาดังเบซาร์) พื้นที่ชายแดน คมนาคม ศุลกากร นิคม สาธารณูปโภค รวม (ถนน สะพาน รถไฟ และด่านชายแดน อุตสาหกรรม (ไฟฟ้า ประปา ท่าเรือ ท่าอากาศยาน) ชลประทาน) รวม ๓,๖๙๑ ๒,๗๓๙ ๗๕ ๓,๙๓๘ ๑๐,๔๔๓ โครงสร้างการบริหาร ประกอบด้วย ๑. คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) (นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน) มีส� ำนักงานเลขานุการ กนพ. เป็นส� ำนักงานประสานงาน ๒. คณะอนุกรรมการ ๔ ชุด ๒.๑ คณะอนุกรรมการด้านสิทธิประโยชน์ขอบเขตพื้นที่ และศูนย์บริการเบ็ดเสร็จด้าน การลงทุน ๒.๒ คณะอนุกรรมการศูนย์บริการเบ็ดเสร็จด้านแรงงาน การสาธารณสุข และความมั่นคง ๒.๓ คณะอนุกรรมการฝ่ายโครงสร้างพื้นฐานและด่านศุลกากร ๒.๔ คณะอนุกรรมการด้านการจัดหาที่ดิน การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษในระยะต่อไป นายมณฑล สุดประเสริฐ อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง เปิดเผยต่อประชาชาติธุรกิจว่า การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษในระยะต่อไป จะครอบคลุม ๕ จังหวัด มี ๗ เขตเศรษฐกิจพิเศษ ดังนี้ หมายเหตุ : ตัวเลขการลงทุนเบื้องต้น ที่มา : ส� ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=