วารสารปี-40-ฉบับที่-3-resize

173 รองศาสตราจารย์ ดร.ทิ ศนา แขมมณี วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๘ สามารถช่วยให้ครู/ผู้สอนบูรณาการกิจกรรมการประเมินขณะเรียนรู้กับกิจกรรมการเรียนรู้สาระต่าง ๆ ได้อย่างดี การประเมินขณะเรียนรู้เป็นแนวคิดที่มีคุณประโยชน์ต่อการเรียนรู้อย่างมาก เพราะสามารถ เพิ่มความสามารถของผู้เรียนในหลายด้าน ที่ส� ำคัญคือ (๑) เพิ่มความรับผิดชอบในการเรียนรู้ของตนเอง (๒) เพิ่มความสามารถการน� ำตนเองในการเรียนรู้ (๓) เพิ่มความสามารถในการประเมินตนเอง (๔) เพิ่มความสามารถในการคิดสะท้อน และ (๕) เพิ่มระดับความเข้าใจในสาระที่เรียน นอกจากนี้ การประเมินขณะเรียนรู้ยังท� ำหน้าที่ยกระดับผู้เรียนจากบทบาทของผู้เรียนไปสู่บทบาทผู้ประเมินอีกด้วย ดังนั้น การประเมินขณะเรียนรู้จึงเป็นเรื่องที่ครู/ผู้สอนทุกคนพึงให้ความสนใจ ศึกษา สร้างความเข้าใจให้ เกิดขึ้นเพื่อน� ำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาผู้เรียนต่อไป. บรรณานุกรม Assessment Reform Group, The Nuffield Foundation. (1999). Assessment for Learning: beyond the black box . Cambridge School of Education. Black, P. and Wiliam, D. (1998). “Assessment and classroom learning”, Assessment in Education , 5(1) pp. 7–71. Earl, L. (2003). Assessment as Learning: using classroom assessment to maximize student learning . Thousand Oaks, Ca: Corwin Press. Ministry of Education, Ontario. (2010). Growing Success: Assessment, Evaluation and Reporting in Ontario’s Schools . Ontario, Canada: Ministry of Education. NSW Education. (1999). Syllabuses for the Australian Curriculum . New South Wales: NSW Education. Office of Learning and Teaching, Department of Education, State Government Victoria, Australia. Strategies for Assessment As Learning . Website: http://www.sofweb.vic . edu.au/blueprint/fs1/assessment.asp Western and Northern Canadian Protocol for Collaboration in Education (WNCP). (2006). Rethinking classroom assessment with purpose in mind: assessment as learning, assessment of learning . Winnipeg, Manitoba, Canada: MECY. Wiggins, G. (1998). Educative assessment . San Francisco, CA: Jossey Bass.

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=