วารสารปี-40-ฉบับที่-3-resize

129 รองศาสตราจารย์ ดร.ชาย โพธิ สิ ตา วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๘ เมื่อมองจากด้านเกษตรกรรม จะเห็นภาพชนบทไทยอยู่ในระยะที่ก� ำลังเปลี่ยนผ่านอย่างส� ำคัญ จากการเป็นชนบทที่ท� ำการผลิตเพื่อกินเพื่อใช้เป็นหลัก สู่ชนบทที่ท� ำการผลิตเพื่อขาย แม้ว่าการเปลี่ยน ผ่านนี้จะยังไม่สมบูรณ์ แต่ที่ผ่านมาก็มีหลักฐานจ� ำนวนมากขึ้นที่แสดงว่า ครัวเรือนในชนบทถูกดึงเข้าสู่ ระบบทุนนิยมที่มีตลาดเป็นกลไกส� ำคัญมากขึ้น และเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงนี้ก� ำลังท� ำให้ชุมชนชนบท เริ่มจะมีช่องว่างที่กว้างขึ้น ทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในวันนี้อาจส่งสัญญาณ บอกให้รู้ว่า ในอนาคตอันไม่ไกลนักโฉมหน้าของเกษตรกรรมและชนบทไทยจะเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง ต่างจากที่เคยเป็นมาในอดีต. เอกสารอ้างอิง คณะกรรมการปฏิรูป (คปร.). ๒๕๕๔. แนวทางปฏิรูปประเทศไทย  : ข้อเสนอต่อพรรคการเมืองและผู้มีสิทธิ เลือกตั้ง. กรุงเทพฯ : ส� ำนักงานปฏิรูป (สปร.). โครงการสุขภาพคนไทย. ๒๕๕๕. ความมั่นคงทางอาหาร : เงินทองของมายา ข้าวปลาสิของจริง. สุขภาพ คนไทย ๒๕๕๕. นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. ฉัตรทิพย์ นาถสุภา, จุไรรัตน์ แสนใจรักษ์ และศักดิ์ชัย เกียรตินาคินทร์. ๒๕๕๓. เศรษฐกิจหมู่บ้านไทย ในอดีต ฉบับภาพ . พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพฯ : บริษัทส� ำนักพิมพ์สร้างสรรค์ จ� ำกัด. ดวงมณี เลาวกุล. ๒๕๕๗. การกระจุกตัวของความมั่งคั่งในสังคมไทย. ใน ผาสุก พงษ์ไพจิตร (บรรณาธิการ) สู่สังคมไทยเสมอหน้า. (น. ๓๗-๕๙). กรุงเทพฯ : ส� ำนักพิมพ์มติชน. วิฑูรย์ เลี่ยนจ� ำรูญ และคณะ. ๒๕๕๑. จากปฏิวัติเขียวสู่พันธุวิศวกรรม : บทเรียนส� ำหรับอนาคตเกษตร ไทย. นนทบุรี : มูลนิธิชีววิถี. ส� ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. ๒๕๔๖. การส� ำรวจภาวะเศรษฐกิจสังคมของครัวเรือนเกษตรกรไทย ในช่วงปีการเพาะปลูก ๒๕๔๔/๔๕ . กรุงเทพฯ : ส� ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตร และสหกรณ์. สุริยนต์ ธัญกิจจานุกิจ, จิราวัฒน์ ปานเพ็ง, ณัฐรี ตั้งยงตระกูล และนวรถ ปะรักมะสิทธิ์. ๒๕๕๓. วิถีชีวิตชาวนาภาคกลาง : แนวนโยบายสู่ภาพสุดท้ายของการพัฒนา. วารสารเศรษฐกิจและ สังคม , ๔๗ (๒).

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=