วารสารปี-40-ฉบับที่-3-resize

ไม่ไปจิ้ มก้อง : ไทยยุติ ความสั มพั นธ์กั บจี น สมั ยรั ชกาลที่ ๔ - รั ชกาลที่ ๕ 94 The Journal of the Royal Society of Thailand Vol. 40 No. 3 Jul-Sep 2015 ครั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงบรรลุนิติภาวะและทรงปกครองประเทศด้วย พระองค์เองได้ไม่นาน ทางจีนก็มีจักรพรรดิองค์ใหม่ คือ กวงซี่ (พ.ศ. ๒๔๑๘-๒๔๕๑, ค.ศ. ๑๘๗๕-๑๙๐๘) ขึ้นครองราชย์ แต่ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ ต้องมีผู้ส� ำเร็จราชการแผ่นดินเป็นสตรี ๒ องค์ คือ พระนางฉืออัน และพระนางฉือซี (ซูสี) แล้วจีนก็ทวงก้องจากไทยอีกในต้น พ.ศ. ๒๔๑๙ เจ้าพระยาพระคลังของไทยได้ ตอบไปว่า ไทยยินดีจะส่งคณะก้อง แต่ขอขึ้นที่เมืองท่าเทียนจิน ซึ่งตอนนี้เทียนจินก็ได้เปิดเป็นเมืองท่า แก่ชาติตะวันตกหลายชาติแล้ว แต่จีนปฏิเสธ ปลาย พ.ศ. ๒๔๑๙ จีนทวงก้องมาอีก ในครั้งนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศ์ผู้ใหญ่เสนาบดีที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน (เคาน์ซิลลอร์ออฟ เสตท) และที่ปรึกษา ในพระองค์ (ปรีวี เคาน์ซิลลอร์) ที่ทรงตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๗ ร่วมกันทูลเกล้าฯ ถวายความเห็นว่า ควรส่งก้อง หรือไม่ หรือควรท� ำอย่างไร มีผู้ทูลเกล้าฯ ถวายความเห็นรวม ๑๕ ท่าน ดังตารางต่อไปนี้ ๒๖ ตารางที่ ๑ ความเห็นเกี่ยวกับการส่งก้องไปจีน พ.ศ. ๒๔๒๐ ๒๖ กองจดหมายเหตุแห่งชาติ. สัมพันธภาพระหว่างไทย-จีน . หน้า ๒๑๐-๒๓๕ ๑ เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) ควรไป ๒๕ พฤษภาคม ๒๔๒๐ ๒ เจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค) ควรไป ๓๐ พฤษภาคม ๒๔๒๐ ๓ เจ้าพระยามหินทรศักดิธ� ำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) ควรรอ ๓๐ พฤษภาคม ๒๔๒๐ ๔ พระยาอภัยรณฤทธิ์ (แย้ม บุณยรัตนพันธุ์) ควรรอ ๕ มิถุนายน ๒๔๒๐ ๕ เจ้าพระยาศรีพิพัฒน์ (แพ บุนนาค) ไม่ควรไป ๒๔ พฤษภาคม ๒๔๒๐ ๖ พระยาราชวรานุกูล (รอด กัลยาณมิตร) ไม่ควรไป ๒๔ พฤษภาคม ๒๔๒๐ ๗ พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล) ควรรอ ๗ มิถุนายน ๒๔๒๐ ๘ พระยาเจริญราชไมตรี (ตาด อมาตยกุล) ควรรอ ๗ มิถุนายน ๒๔๒๐ ๙ พระยาราชโยธา (ทองอยู่ ภูมิรัตน์) ควรรอ ๗ มิถุนายน ๒๔๒๐ ที่ พระนาม/นาม ความเห็น วันทูลเกล้าฯ ถวาย ความเห็น

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=