วารสารปี-40-ฉบับที่-4-resize

นิตยา กาญจนะวรรณ 269 วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๘ ตัวอย่าง อักษรไทยน้อย d - 8 \ k k h kh ng t k a a ๘. การก� ำหนดต� ำแหน่งให้ตัวอักขระ การก� ำหนดอักษรโรมันให้แก่อักขระไทยมาตรฐานใน ISO 11940-1: 1998 นั้นมิได้มีการ ก� ำหนดต� ำแหน่งให้แก่สระและเครื่องหมายต่าง ๆ แต่ในอักษรธรรมอีสานและอักษรไทยน้อยต� ำแหน่งของ อักขระมีประโยชน์แก่การสร้างแบบชุดอักษรมาก เพราะเมื่อนักภาษาได้ช่วยก� ำหนดให้อย่างแน่นอนแล้ว ผู้พัฒนาแบบชุดอักษรก็จะสามารถน� ำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ไม่ท� ำให้เกิดปัญหาบางประการดังเช่นที่ เกิดขึ้นกับอักขระไทยมาตรฐานที่อักขระบางตัวไม่สามารถปรากฏร่วมกันได้ เพราะมิได้ก� ำหนดต� ำแหน่ง ให้แน่นอนไว้ เช่น ไม้ไต่คู้ไม่สามารถปรากฏร่วมกับเครื่องหมายวรรณยุกต์ ทั้งนี้ เป็นเพราะผู้พัฒนาได้ ก� ำหนดให้อักขระดังกล่าวอยู่ในต� ำแหน่งเดียวกัน จึงสามารถใช้ได้เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ๘.๑ ต� ำแหน่งของตัวอักขระในชุดอักษรธรรมอีสาน สระในชุดอักษรธรรมอีสานนอกจากจะวางไว้ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านบน และด้านล่าง ของพยัญชนะแล้ว ตัวเฟื้องยังปรากฏได้ทั้ง ๔ ทิศทางเช่นเดียวกัน การก� ำหนดต� ำแหน่งจึงเป็นดังนี้ อักขระที่ปรากฏด้านหน้าจะอยู่หน้าเครื่องหมาย – อักขระที่ปรากฏด้านหลังจะอยู่หลังเครื่องหมาย – ตัวอย่าง ตัว ร เฟื้อง W- ระวง = r- เช่น Wrt พฺระ = r- pha อักขระที่ปรากฏด้านบนจะมีเครื่องหมาย _ ก� ำกับไว้ข้างหน้า อักขระที่ปรากฏด้านล่างจะมีเครื่องหมาย _ ก� ำกับไว้ข้างหน้า ตัวอย่าง อักษรธรรมอีสาน d - 8 S ' k k # h kh k ฺh ng t k a a # ตัวอย่าง อักษรไทยน้อย d - 8 \ k k # h kh ng t k a a # ๘. การกําหนดตําแหน่งให้ตัวอักขระ การกําหนดอักษรโรมันให้แก่อักขระไทยมาตรฐานใน ISO 11940-1: 1998 นั้นมิได้มี การกําหนดตําแหน่งให้แก่สระและเครื่องหมายต่าง ๆ แต่ในอักษรธรรมอีสานและอักษรไทย น้อยตําแหน่งของอักขระมีประโยชน์แก่การสร้างแบบชุดอักษรมาก เพราะเมื่อนักภาษาได้ 11 ช่วยกําหนดให้อย่างแน่นอ แล้วผู้พัฒนาแบบชุดอักษรก็จะสามารถนําไปปฏิบัติได้อย่ ง ถูกต้อง ไม่ทําให้เกิดปัญหาบางประการดังเช่นที่เกิดขึ้นกับอักขระ ทยมาตรฐานที่อักขระบาง ตัวไม่สามารถปรากฏร่วมกันได้ เพราะิ ได้กําหนดตําแหน่งให้แน่นอนไว้ เช่น ไม้ไต่คู้ไม่ สามารถปรากฏร่วมกับเครื่องหมายวรรณยุกต์ ทั้งนี้เป็นเพราะผู้พัฒนาได้กําหนดให้อักขระ ดังกล่าวอยู่ในตําแหน่งเดียวกัน จึงสามารถใช้ได้เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ๘.๑ ตําแหน่งของตัวอักขระในชุดอักษรธรรมอีสาน สระในชุดอักษรธรรมอีสา นอกจากจะวางไว้ด้านหน้า ด้าน ลัง ด้านบน และ ด้านล่างของพยัญชนะแล้ว ตัวเฟื้องยังปรากฏได้ทั้ง ๔ ทิศทางเช่นเดียวกัน การกําหนด ตําแหน่งจึงเป็นดังนี้ อักขระที่ปรากฏด้านหน้าจะอยู่หน้าเครื่องหมาย – อักขระที่ปรากฏด้านหลังจะอยู่หลังเครื่องหมาย – ตัวอย่าง ตัว ร เฟื้อง W - ระวง = r- เช่น Wrt พฺระ = r- pha อักขระที่ปรากฏด้านบนจะมีเครื่องหมาย # กํากับไว้ข้างหน้า อักขระที่ปรากฏด้านล่างจะมีเครื่องหมาย = กํากับไว้ข้างหน้า 11 ช่วยกําหนดให้อย่างแน่นอนแล้วผู้พัฒนาแบบชุดอักษรก็จะสามารถนําไปปฏิบัติได้อย่าง ถูกต้อง ไม่ทําให้เกิดปัญหาบางประการดังเช่นที่เกิดขึ้นกับอักขระไทยมาตรฐานที่อักขระบาง ตัวไม่สามารถปรากฏร่วมกันได้ เพราะมิได้กําหนดตําแหน่งให้แน่นอนไว้ เช่น ไม้ไต่คู้ไม่ สามารถปรากฏร่วมกับเครื่องหมายวรรณยุกต์ ทั้งนี้เป็นเพราะผู้พัฒนาได้กําหนดให้อักขระ ดังกล่าวอยู่ในตําแหน่งเดียวกัน จึงสามารถใช้ได้เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ๘.๑ ตําแหน่งของตัวอักขระในชุดอักษรธรรมอีสาน สระในชุดอักษรธรรมี สานนอกจากจะวางไว้ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านบน และ ด้านล่างของพยัญชนะแล้ว ตัวเฟื้องยังปรากฏได้ทั้ง ๔ ทิศทางเช่นเดียวกัน การกําหนด ตําแหน่งจึงเป็นดังนี้ อักขระที่ปรากฏด้านหน้าจะอยู่หน้าเครื่องหมาย – อักขระที่ปรากฏด้านหลังจะอยู่หลังเครื่องหมาย – ตัวอย่าง ตัว ร เฟื้อง W - ระวง = r- เช่น Wrt พฺระ = r- pha อักขระที่ปรากฏด้านบนจะมีเครื่องหมาย # กํากับไว้ข้างหน้า อักขระที่ปรากฏด้านล่างจะมีเครื่องหมาย = กํากับไว้ข้างหน้า ตัวอย่าง

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=