วารสารปี-40-ฉบับที่-4-resize
เอื้อมพร มัชฌิมวงศ์ 227 วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๘ ตารางที่ ๒ ระดับเสียงและระยะห่างจากแอลอาร์เอดีในแต่ละเขตล� ำเสียง ผลกระทบจากเสียงของแอลอาร์เอดีและการป้องกัน สัญญาณเตือนให้รู้ว่าหูได้รับเสียงดังเกินไป คือ การมีเสียงหึ่ง ๆ ก้องอยู่ในหู การได้ยินเสียง ค่อนข้างดังมากในช่วงเวลาสั้นจะท� ำให้เกิดภาวะสูญเสียการได้ยินชั่วคราว แต่เมื่ออยู่ในที่เงียบสงบจะฟื้น คืนสภาพเป็นปรกติได้ภายใน ๑-๒ ชั่วโมง โดยจะเสร็จสมบูรณ์ใน ๑๖-๒๔ ชั่วโมง (Davis and Cornwell, 1991) การได้ยินเสียง ๑๒๐ เดซิเบลขึ้นไปจะท� ำให้เริ่มรู้สึกไม่สบายจากการได้ยินเสียงเนื่องจากมีอาการ เจ็บในหูร่วมด้วย การได้ยินเสียงดังตั้งแต่ ๑๔๐ เดซิเบลขึ้นไป แม้จะได้ยินช่วงสั้น ๆ ก็สามารถท� ำให้เกิด อาการหูหนวกถาวรแบบเฉียบพลันได้ (Cowan, 1994) แอลอาร์เอดี เขตลำ �เสียง ระยะห่างจากแอลอาร์เอดี (เมตร) ระดับเสียงในเขตลำ �เสียง (เดซิเบล) รุ่น LRAD- 100 X เขตไม่ควรเข้าไป ๐-๔๕ มากกว่า ๑๐๓-มากกว่า ๑๓๗ เขตรู้สึกไม่สบาย ๔๕-๑๒๕ มากกว่า ๙๔-๑๐๓ เขตได้ยินอย่างชัดเจน ๑๒๕-๕๗๕ มากกว่า ๘๐-๙๔ รุ่น LRAD- 300 X เขตไม่ควรเข้าไป ๐-๘๐ มากกว่า ๑๐๓-มากกว่า ๑๔๓ เขตรู้สึกไม่สบาย ๘๐-๒๓๐ มากกว่า ๙๔-๑๐๓ เขตได้ยินอย่างชัดเจน ๒๓๐-๑,๑๕๐ มากกว่า ๘๐-๙๔ รุ่น LRAD- 500 X เขตไม่ควรเข้าไป ๐-๑๗๐ มากกว่า ๑๐๓-มากกว่า ๑๔๙ เขตรู้สึกไม่สบาย ๑๗๐-๔๖๐ มากกว่า ๙๔-๑๐๓ เขตได้ยินอย่างชัดเจน ๔๖๐-๒,๒๕๐ มากกว่า ๘๐-๙๔ รุ่น LRAD- 1000 X เขตไม่ควรเข้าไป ๐-๒๗๕ มากกว่า ๑๐๓-มากกว่า ๑๕๓ เขตรู้สึกไม่สบาย ๒๗๕-๗๒๕ มากกว่า ๙๔-๑๐๓ เขตได้ยินอย่างชัดเจน ๗๒-๓,๕๐๐ มากกว่า ๘๐-๙๔
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=