วารสารปี-40-ฉบับที่-4-resize

จงรักษ์ ผลประเสริฐ, วาลิกา เศวตโยธิน, ธัชชัย ปุษยะนาวิน 101 วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๘ การปนเปื้อนของ PPCPs จากโรงงานอุตสาหกรรมและแหล่งน�้ ำผิวดินในประเทศไทย ผลจากการศึกษาวิจัยครั้งนี้พบการปนเปื้อนของ PPCPs จากระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ในแหล่งน�้ ำของประเทศไทยดังแสดงไว้ในรูปที่ ๔ แหล่งน�้ ำที่ศึกษาวิจัยเป็นที่รับน�้ ำที่ออกจากระบบบ� ำบัด จึงตรวจพบ Acetaminophen, Ibuprofen, Caffeine และ Amoxicillin ในระดับไมโครกรัมต่อลิตร สาร PPCPs ตัวอื่นๆ ตรวจพบในระดับนาโนกรัมต่อลิตร ในเบื้องต้นพบว่าความเข้มข้นของ PPCPs ที่ตรวจพบ จากการศึกษาวิจัยครั้งนี้สูงกว่าในประเทศอื่นในกลุ่มอาเซียนด้วยกัน (Nakada et al., 2007; Choi et al., 2008) ๖ การปนเป อนของ PPCPs จากโรงงานอุตสาหกรรมและแหล งน้ําผิวดินในประเทศไทย ผลจากการศึกษาวิจัยครั้ นี้พบการปนเป อนของ PPCPs จากระบบบําบัดน้ําเสียจากโรงงาน อุตสาหกรรมในแหล งน้ําของประเทศไทยดังแสดงไว ในรูปที่ ๔ แหล งน้ําที่ศึกษาวิจัยเป นที่รับน้ําที่ออกจาก ระบบบําบัด จึงตรวจพบ Acetaminophen, Ibuprofen, Caffeine และ Amoxicillin ใ ระดับไมโครกรัมต อลิตร สาร PPCPs ตัวอื่น ๆ ตรวจพบในระดับนาโนกรัมต อลิตร ในเบื้องต นพบว าความเข มข นของ PPCPs ที่ตรวจพบจาก การศึกษาวิจัยครั้งนี้สูงกว าในประเทศอื่นในกลุ มอาเซียนด วยกัน (Nakada et al., 2007; Choi et al., 200 8 ) รูปที่ ๔ ความเข มข นของ PPCPs ในแหล งรองรับน้ําที่ออกจากระบบบําบัดน้ําเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม (WWTP1 และ WWTP2) และแหล งน้ําผิวดินในประเทศไทย (Channel water1, Channel water 2 และ Lake water) เทคโนโลยีบําบัดสารตกค างทางเภสัชกรรมคนและสัตว ระบบบําบัดน้ําเสียธรรมชาติประกอบด วยต นหญ าแฝก (รูปที่ ๕) มีประสิทธิภาพย อยสลายสารตกค าง เภสัชกรรมได ดีเพราะหญ าของต นหญ าแฝกผลิตสาร H 2 O 2 ซึ่งทําปฏิกิริยากับสารเหล็กในดิน เกิดกระบวนการ Advanced oxidation จากการทดลองเบื้องต นพบว าสามารถย อยสลายสาร Amoxicillin, Acetaminophen หรือ Paracetamol ได มากถึงร อยละ ๙๙ เนื่องจากต นทุนในการติดตั้งระบบต่ําและไม มีการใช พลังงาน จึงทําให ระบบ บําบัดธรรมชาติด วยต นหญ าแฝกเป นหนึ่งในเทคโนโลยีที่มีความเหมาะสมในการกําจัด PPCPs เช น ระบบ บึงประดิษฐ แพพืชลอยน้ําในแหล งน้ํา หรือระบบบําบัดอื่น ๆ ที่สามารถใช หญ าแฝกร วมกับระบบได และ เหมาะสมกับกลุ มประเทศที่กําลังพัฒนารวมถึงประเทศไทย AI BB AE LR ST RD AB IR Channel water-1 Channel water-2 Lake water Effluent -WWTP 1 Effluent-WWTP 2 1 10 100 1000 10000 acetaminophen diclofenac ibuprofen ketoprofen mefenamic acid naproxen atenolol carbamazepine phenytoin gemfibrozil caffeine theophylline amoxicillin ciprofloxacin clarithromycin erythromycin norfloxacin ofloxacin sulfadimidine sulfamethoxazole tetracycline trimethoprim DEET Concentration, ng/L รูปที่ ๔ ความเข้มข้นของ PPCPs ในแหล่งรองรับน�้ ำที่ออกจากระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม (WWTP1 และ WWTP2) และแหล่งน�้ ำผิวดินในประเทศไทย (Channel water1, Channel water 2 และ Lake water) เทคโนโลยีบ� ำบัดสารตกค้างทางเภสัชกรรมคนและสัตว์ ระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียธรรมชาติประกอบด้วยต้นหญ้าแฝก (รูปที่ ๕) มีประสิทธิภาพย่อยสลายสารตกค้าง เภสัชกรรมได้ดีเพราะหญ้าของต้นหญ้าแฝกผลิตสาร H 2 O 2 ซึ่งท� ำปฏิกิริยากับสารเหล็กในดิน เกิดกระบวนการ Advanced oxidation จากการทดลองเบื้องต้นพบว่าสามารถย่อยสลายสาร Amoxicillin, Acetaminophen หรือ Paracetamol ได้มากถึงร้อยละ ๙๙ เนื่องจากต้นทุนในการติดตั้งระบบต�่ ำและไม่มีการใช้พลังงาน

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=