วารสารราชบัณฑิตยสภาปี-43-ฉบับ-1

วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ ๔๓ ฉบับที่ ๑ ม.ค.-เม.ย. ๖๑ ๑๘ อุตปาตะ : ความเชื่อเรื่องโชคลาง ในศาสนาพราหมณ์และศาสนาฮินดู ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา ราชบัณฑิต สานักศิลปกรรม ราชบัณฑิตยสภา บทคัดย่อ คาว่าอุตปาตะ (อุตฺปาต) เป็นภาษาสันสกฤตหมายถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นโดยปัจจุบันทันด่วนและ เชื่อว่าเป็นลางบอกเหตุในทางที่ไม่ดี ทาให้ทราบว่าในศาสนาพราหมณ์และศาสนาที่พัฒนาขึ้นในยุคต่อมาคือ ศาสนาฮินดูมีความเชื่อเรื่องโชคลางอย่างไร แม้คาว่า อุตปาตะ จะไม่ปรากฏในคัมภีร์ฤคเวทซึ่งเป็นคัมภีร์ทาง ศาสนาที่เก่าที่สุดในโลก แต่ก็มีคาว่า อัทภุตะ (อทฺภุต) มีควาหมายใกล้เคียงกัน ในยุคฤคเวทมีสิ่งบ่งชี้ว่ามีการ เชื่อถือโชคลางเช่นเดียวกัน นอกจากจะนับถือเทพในธรรมชาติ เมื่อมีอุตปาตะสิ่งที่ต้องมีคู่กันคือ ศานติ คือพิธี ป้องกันไม่ให้สิ่งร้ายเกิดขึ้นหลังอุตปาตะปรากฏ พิธีศานติปรากฏครั้งแรกในคัมภีร์อถรรพเวท ต่อมามีการ กล่าวถึง อุตปาตะ อัทภุตะ และนิมิตตะ ในคัมภีร์ยุคหลังพระเวท ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่บอกทั้งลางดีและลาง ร้ายอย่างละเอียดและมากมาย พร้อมทั้งมีพิธีศานติที่ใช้แก้ปรากฏการณ์นั้น ๆ ควบคู่กันไป นอกจากพิธีศานติ เกี่ยวกับอุตปาตะแล้วยังมีพิธีนวครหศานติ (นวคฺรหศานฺติ) เพื่อทาให้ดาวเคราะห์ทั้งเก้าสงบ ตาราอาธิไทโพธิบาท ของไทยคงมีความสัมพันธ์กับ อุตปาตะ อัทภุตะ และนิมิตตะ เพราะเนื้อหามีความคล้ายคลึงกัน คาสาคัญ : อุตปาตะ, อัทภุตะ, นิมิตตะ, ศานติ, อาธิไทโพธิบาท Abstract: Utp ā ta: An Aspect of Superstitions in Brahmanism and Hinduism Assistant Prof. Dr. Chiraphat Prapandvidya Fellow, The Academy of Arts The Royal Society of Thailand Utp ā ta is a Sanskrit term meaning unusual phenomena portentous of somethings undesirable to take place. This indicates that superstitions exist among Indian people who believe in Brahmanism and Hinduism. In spite of the fact that the term Utp ā ta does not appear in the Ṛ gveda, the world’s oldest religious text, the term Adbhuta is used in similar meaning by which it is suggested that superstitions also exist in the Ṛ gveda. When an Utp ā ta occurs a remedy ritual which is called Śā nti is performed to ward off evil happening to take place. Śā nti occurs for the first time in the Atharvaveda, which is the 4 th Veda, belonging to later period. The later religious texts after the Vedas use three terms, namely Utp ā ta, Adbhuta and Nimitta to mean phenomena that are portentous of various good and bad happenings in great details. Different kinds of Śā ntis are also prescribed for respective phenomena. The planets are also believed to have caused troubles to human beings.

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=