ชื่อ ศาสตราจารย์ผาสุก พงษ์ไพจิตร

วัน เดือน ปี เกิด วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๘๙

ราชบัณฑิต โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ประเภทวิชาสังคมศาสตร์ สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง

ตำแหน่งสำคัญในราชบัณฑิตยสถาน/ราชบัณฑิตยสภา

– กรรมการ ในคณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์เศรษฐศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๕๙-ปัจจุบัน)

ประวัติการศึกษา

– เศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยโมแนช ประเทศออสเตรเลีย

– เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยโมแนช ประเทศออสเตรเลีย

– Doctor of Philosophy (Economics) มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ

ประวัติการทำงานวิชาการ

– ศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์วิจัย ที่มีอายุเกิน ๖๐ ปี (A1) ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ตุลาคม ๒๕๕๖–เมษายน ๒๕๖๓)

– Chairperson ของ International Development Economics Associates (IDEAS), London, United Kingdom. (พ.ศ. ๒๕๔๔–ปัจจุบัน)

– ศาสตราจารย์ระดับ ๑๑ ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๔๗–ปัจจุบัน)

– ศาสตราภิชาน ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๕๐–๒๕๕๒)

– ศาสตราจารย์กิตติคุณ ด้านเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๕๕–ปัจจุบัน)

– Research Fellow, Institute of South-East Asian Studies, Singapore (พ.ศ. ๒๕๓๑–๒๕๓๒)

– Expert, Development Economist ปฏิบัติงานในองค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (ILO-ARTEP) ณ กรุงเทพฯ (พ.ศ. ๒๕๒๔–๒๕๒๗)

– Visiting Professor School of Advanced International Studies, John Hopkins University, USA. (ตุลาคม–ธันวาคม ๒๕๔๔)

– Visiting Professor Centre for Southeast Asian Studies, Kyoto University (ตุลาคม ๒๕๔๖–มีนาคม ๒๕๔๗)

– Visiting Professor Institute of Social Science, Tokyo University (ตุลาคม ๒๕๔๙–มีนาคม ๒๕๕๐)

ผลงานวิชาการ

รูปสี ขนาด ๑ นิ้ว เครื่องแบบเต็มยศประดับเครื่อง ราชอิสริยาภรณ์ หรือชุดสากล

– เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ (ฉบับภาษาอังกฤษชื่อ Thailand Economy and Politics, ๑๙๙๗ โดย Oxford University Press, พิมพ์ครั้งแรก ๑๙๙๕ Paperback ๑๙๙๗ พิมพ์ใหม่ ๒ ครั้งปรับปรุงและพิมพ์ใหม่เป็น Second Edition ในปี ๒๐๐๒ และมีฉบับภาษาญี่ปุ่น)

– Populism in Asia (Kosuke Mizuno and Pasuk Phongpaichit, eds) จัดพิมพ์โดย Singapore and Kyoto: National University of Singapore Press and Kyoto University Press

– ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย (ฉบับภาษาอังกฤษ ชื่อ A History of Thailand พิมพ์โดย Cambridge University Press, ๒๐๐๕, Second Edition, ๒๐๐๙, Reprinted ๒๐๑๐, ๒๐๑๑, ๒๐๑๓, Third Edition ๒๐๑๔ มีฉบับภาษา Polish)

– ภาษีเงินได้เป็นธรรมหรือไม่ (ผาสุก พงษ์ไพจิตร และนวลน้อย ตรีรัตน์ บรรณาธิการ)

– สู่สังคมไทยเสมอหน้า (ผาสุก พงษ์ไพจิตร บรรณาธิการ) (ฉบับภาษาอังกฤษ ชื่อ Unequal Thailand: Aspects of Income, Wealth and Power, edited by Pasuk Phongpaichit and Chris Baker National University of Singapore Press (NUS Press), 2016

– From Peasant Girls to Bangkok Masseuses

– The Tale of Khun Chang Khun Phaen: Siam’s Great Folk Epic of Love and War, แปลและบรรณาธิการ มีคำอธิบายประกอบ (ได้รับรางวัล Association of Asian Studies Becker Prize for the Best Translation of Asian Literature)

– Pasuk Phongpaichit, “Inequality, Wealth and Thailand’s Politics” (Journal of Contemporary Asia, special issue)

– Pasuk Phongpaichit, Chris Baker, “The Political Economy of the Thai Crisis” (Journal of the Asia Pacific Economy)

เกียรติคุณที่ได้รับ

– รางวัล Recommended Book on Asia: The New Wave of Japanese Investment in ASEAN จาก Meinichi Shimbun ประเทศญี่ปุ่น (พ.ศ. ๒๕๓๓)

– รางวัลผลงานวิจัยดีเด่นเรื่องคอร์รัปชัน จากสำนักงาน ป.ป.ป. (พ.ศ. ๒๕๔๐)

– เมธีวิจัยอาวุโส สกว. (พ.ศ. ๒๕๔๐, ๒๕๔๕)

– รางวัลผลงานวิจัยดีเยี่ยม จากสภาวิจัยแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๔๐)

– นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สภาวิจัยแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๔๑)

– Star of Asia จาก Business Week (พ.ศ. ๒๕๔๒)

– รางวัลผลงานที่ได้รับการอ้างอิงมากที่สุด จาก สกว. (พ.ศ. ๒๕๔๓)

– Distinguished Alumni Award จาก Monash University, Australia (พ.ศ. ๒๕๔๔)

– Outstanding Book of the year by (for Thailand’s Crisis) จาก Choice Magazine, American Library Association (พ.ศ. ๒๕๔๕)

– ศาสตราจารย์วิจัยดีเด่นสาขาเศรษฐศาสตร์ จาก สกว. (พ.ศ. ๒๕๕๒)

– Becker Prize for the Best Translation of Asian Literature The Tale of Khun Chang Khun Phaen จาก Association of Asian Studies, USA (พ.ศ. ๒๕๕๖)

– Fukuoka Grand Prize with Chris Baker จาก City of Fukuoka, Japan (พ.ศ. ๒๕๖๐)

– งานวิจัยเรื่อง ภาษีเงินได้เป็นธรรมหรือไม่ ได้รับรางวัลผลงานวิจัยเด่น สังคมศาสตร์ ประจำปี ๒๕๖๐ จาก สกว. และสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย (พ.ศ. ๒๕๖๐)

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

– มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) พ.ศ. ๒๕๔๙