ศาสตราจารย์ ดร.ผลิน ภู่จรูญ (ราชบัณฑิต)

สำนัก :ธรรมศาสตร์และการเมือง
ประเภทวิชา :สังคมศาสตร์
สาขาวิชา :บริหารธุรกิจ
ที่อยู่ :๒๑ ถนนรามคำแหง ๒๖/๒ เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ ๑๐๒๔๐
คุณวุฒิ:
บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๒๕
สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๖
พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ๒๕๒๘
เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา, ๒๕๓๑
บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา, ๒๕๓๗
ตำแหน่ง:
ผู้อำนวยการโครงการปริญญาโททางบริหารธุรกิจสำหรับผู้บริหาร (EMBA)
รองประธานสภาคณาจารย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
กรรมการบริหาร สำนักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
กรรมการโครงการส่งเสริมเอกสารวิชาการสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
รองศาสตราจารย์ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
เกียรติคุณ:
Honorary Award จาก The Honor Society for Collegiate Schools of Business 'Beta Gamma Sigma', ๒๕๓๖
บทความวิจัยดี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ๒๕๔๐
ผลงานสำคัญ:
บทความ
กลยุทธ์การจัดการบริษัทร่วมทุนระหว่างประเทศในประเทศไทยกับการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับต่างประเทศ วารสารพัฒนบริหารศาสตร์ ฉบับปีที่ ๔๒ ฉบับพิเศษ หน้า ๙๑-๑๓๐.
กรอบแนวคิดการจัดการร่วมสมัยในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันในการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาชาติ ตามแนวทางชุมชนพึ่งตนเอง วารสารพัฒนบริหารศาสตร์ ฉบับปีที่ ๔๒ (๓) หน้า ๑๑๗-๑๖๘.
International Joint Ventures: An Integrated Conceptual Model for Human Resource and Business Strategies. Journal of Euromarketing Vol. 4 (3/4) pp. 89-127.
Enhancing Effectiveness and Effciency of International Joint Venture : Multi-level Value Chain Model. Journal of Euro-Asian Management. 12 (1) pp. 13-21.
หนังสือ
การจัดการธุรกิจร่วมสมัย : กรอบแนวคิดใหม่ทางการจัดการในการสร้างและพัฒนาพลวัตในการแข่งขัน
Relocation in Thailand : Two Case Studies. In L. Cuyvers (Ed.) Globalisation and Social Development : European and Southeast Asian Evidence. MA : Edward Elgar.
อินโนจิเนียริง : แนวคิดในการพัฒนาองค์การธุรกิจเพื่อก้าวสู่องค์การระดับโลก
งานวิจัย
International Joint Ventures : An Integrated Conceptural Model for Human Resource and Business Strategies.
ความร่วมมือกันระหว่างองค์กรธุรกิจกับการพัฒนาความได้เปรียบในการแข่งขันกันต่างประเทศ : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมส่งออก
กลยุทธ์การจัดการบริษัทร่วมทุนระหว่างประเทศในประเทศไทยกับการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับต่างประเทศ
กรอบแนวคิดการจัดการร่วมสมัยในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันในการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาชาติ ตามแนวทางชุมชนพึ่งตนเอง
ความเชี่ยวชาญ: